"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ต.ทับช้าง"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองที่นี่เป็นชุมชนโบราณอายุไม่ต่ำกว่า ๓๐๐ ปี ชื่อทับช้างสันนิษฐานว่าเคยเป็นสถานที่ตั้งเพนียดจับช้างพญางาดำ มีภาษาพูดที่มีลักษณะเฉพาะตัววันที่ 29 เมษายน 2562 นัดแกนนำชุมชนทั้งท้องถิ่น ท้องที่ ชุมชน ภาคีเครือข่ายมาทำความเข้าใจการจัดทำธรรมนูญตำบล นำโดยท่านนายก ปลัดอบต. สำนักปลัด ได้ข้อสรุปดำเนินการใน ๕ ประเด็นหลัก ได้แก่ การจัดการขยะ การ
"สร้างฐานความเป็นชุมชน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองวันที่ 1 พฤษภาคม 2562 นัดแกนนำชุมชนเมือง ต.บ่อยาง ที่เป็นตัวแทนกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ดูแลสมาชิกที่ส่วนใหญ่เป็นคนต่างถิ่นแต่โยกย้ายมาทำหากินในพื้นที่อำเภอเมืองสงขลากระทั่งกลายเป็นคนในพื้นที่ กลุ่มเหล่่านี้กำลังแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยที่อยู่ที่ดินธนารักษ์บ้าง การรถไฟบ้างประกอบด้วยชุมชนแหลมสนอ่อน กุโบร์ หัวป้อม พาณิชย์สำโรง หลังอาชีวะ มิตรเมืองลุง
"ห้องเรียนสวนผักคนเมือง"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองหน้าร้อนเป็นช่วงเวลาที่ผักต้องการน้ำ หลายคนประสบปัญหาการปลูกผักที่ต้องเผชิญกับสภาพอากาศร้อน กระถางผักที่มีรูระบายน้ำไม่สามารถเก็บความชื้นไว้ได้ จำเป็นที่จะต้องมีกระถางรองก้น หรือมีวัสดุดูดซับความชื่นประกอบในโครงสร้างดิน ใช้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ฮอร์โมนเร่งดอก เร่งผลประกอบวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๒ ห้องเรียนสวนผักคนเมืองหาดใหญ่ ไปเยือนอุโมงค์ผักบั
"การเรียนรู้"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองการพัฒนาภายใน ยังถูกนำมาใช้ในการทำงานขององค์กรสาธารณะน้อย โดยเฉพาะองค์กรที่เติบโตมาจากการสนับสนุนของภาคส่วนใดๆก็ตามที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับนโยบายไม่ว่าจากส่วนกลางหรือจากแหล่งทุน สวนมากมักเติบโตเชิงปริมาณ ถูกเร่งให้เกิด และไม่ได้มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานที่ดีทุกอย่างจะมีคู่มือ มีแนวทางสำเร็จรูปที่คิดและกำหนดมาจากศูนย์กลางแห่งอำนาจ ที่ไม่ได้รองรับความ
ถอดบทเรียน กระบวนการ ธรรมนูญตําบลสุขภาวะใต้ล่าง “กินได้ จับต้องได้”
เขียนโดย ชาคริต โภชะเรือง
สามารถดาวน์โหลดได้ตามไฟล์เอกสารแนบ
"คลองบางกล่ำ"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองอีก ๒ กิจกรรมที่จะร่วมกับพื้นที่ต.บางกล่ำและท้องถิ่นตลอดสายคลองบางกล่ำก็คือ การทำธรรมนูญชุมชนลำดับแรก ร่วมกับต.บางกล่ำ ร่วมรักษาคลองต้นแบบคลองบางกล่ำ ขยายผลไปถึงครัวเรือนในการจัดการขยะเปียก ขยะรีไซเคิล และการท่องเที่ยวชุมชน โดยบูรณาการกับการทำแผนพัฒนาท้องถิ่นที่กำลังประชาคม และเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมระดับครัวเรือนด้วยแบบสอบถามหรืออื่นๆ ที่จะกำหนดร่วมกัน
"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ทต.พะตง"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองวันที่ 22 มีนาคม 2562 นัดแกนนำตำบลมาหารือแนวทางการจัดทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ผู้มาร่วมประกอบด้วยท้องถิ่น ตัวแทนกรรมการชุมชน ผู้ประกอบการในพื้นที่ ทำความเข้าใจการทำธรรมนูญสุขภาพพื้นที่พะตงมีจุดเน้นก็คือการจัดการสิ่งแวดล้อม ขยะ ให้ความสำคัญกับปัญหาฝุ่นในอากาศ ขยะในชุมชน การดูแลคลองตงและคลองอู่ตะเภา โดยมีสถานประกอบการโรงงานในพื้นที่เป็นเครือข่าย
"สุขภาวะโลกกับสุขภาวะคน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๒ มีโอกาสไปร่วมให้ข้อเสนอแนะต่องานวิจัยชุดโครงการ "การศึกษาวิจัยและพัฒนาสุขภาวะโลก"(Planetary Health) ของพื้นที่ภาคใต้ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ จัดโดยวพส. มีหลายโครงการที่น่าสนใจ ผมไปร่วมได้แค่ครึ่งวัน พอจะมาบอกเล่าได้ตามนี้ครับ๑.โครงการการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย โดยผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา นำเสนอการทำงานวิจั
"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ทต.ระโนด"วันที่ 11 มีนาคม 2562 ประเดิมเวทีแรก นายกเทศมนตรีตำบลระโนดให้เกียรตินำทีมในเทศบาล ผู้สูงอายุ อสม. ประธานชุมชน ร่วม ๖๐ ชีวิตมาร่วมทำความเข้าใจแนวทางการจัดทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่อุ่นเครื่องกันด้วยเรื่องเล่าในอดีต ต.ระโนดเป็นชุมชนดั้งเดิมอายุไม่ต่ำกว่า ๒๐๐ ปีอดีตเป็นเมืองท่า มีการสัญจรทางน้ำผ่านคลองระโนดเป็นหลัก จึงเป็นชุมทางเรือ มีชาวจีนเข้ามาตั้งรกราก สมัยสงครามโล
"หลาดกรีนปั้นสุข"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองทีมงานของตลาดที่มีเครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงรัตภูมิเป็นแกนนำนัดหารือการขยับขยายตลาด ด้วยเหตุหน้าฝนพื้นที่ตั้งเป็นที่รับน้ำ ประกอบกับรพ.รัตภูมิกำลังปรับสถานที่ รพ.เก่าเป็นร้านค้า ศูนย์อาหารและร้านกาแฟ จุดที่ตั้งของตลาดกรีนฯ จะขยายเพิ่มรับลูกค้าที่จะมามากขึ้นนโยบายของผอ.โรงพยาบาลต้องการเปิดพื้นที่ให้เกษตรกร(ผ่านการตรวจสอบและ MOU กันแล้วเท่านั้น)