ข่าวสาร-ประชาสัมพันธ์
ข่าวสาร-ประชาสัมพันธ์
กิจกรรมภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนหลบมุม เมืองพะตง

วันที่ 11 -12 มีนาคม 2566เจ้าหน้าที่ฝ่าย CSR ของ บมจ.ศรีตรังโกลฟ ได้มอบโต๊ะให้แก่ชุมชนขอขอบพระคุณ บมจ.ศรีตรังโกลฟ ที่สนับสนุนกิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษวันเสาร์และศิลปะวันอาทิตย์ด้วยดีเสมอมามีเจ้าหน้าที่ คุณบุ้ก ร่วมกับ สสส. มาซ้อมละครให้เด็กๆ เพื่อทำกิจกรรมในวันที่ 12 มีนาคม 2565 เกี่ยวกับการรับมือฝุ่น PM 2.5เด็กๆๆ สนุกสนานมาก
กิจกรรมพัฒนาพื้นที่ชุมชนและประชุมสมาชิกชุมชนพื้นที่ตำบลบ่อยางเดือนกุมภาพันธ์ 2566

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 กิจกรรมพัฒนาพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อนขอบคุณสำหรับขนมจีนแกงน้ำเปล่าจากลุงตุ้ยกับป้าอิ๊ด น้ำอัดลมจากป้าตู่วันนี้ ร่วมแรง ร่วมใจ กัน ผ่านไปได้ด้วยดีวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 ตัวแทนกลับจากประชุมที่หาดใหญ่ มีนักศึกษาม.ราชภัฎสงขลา มาขอสัมภาษณ์เกี่ยวกับนโยบายชุมชนต่อเนื่องวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 ชุมชนเครือข่ายร่วมกันจัดเวทีการประชุมของชุมชนวัดไทรงา
พะตงบ้านฉัน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมพัฒนา

พะตงบ้านฉัน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมพัฒนาเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 09.00 น.นายแพทย์ยุทธนา พูนพานิช ประธานคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต ได้มามอบความรู้ คำแนะนำ ข้อเสนอแนะ และรับฟังการขับเคลื่อนโครงการฯ ของตำบลพะตงโดยมีคณะกรรมการพัฒนาเด็กและครอบครัว (CFT) ตำบลพะตง พร้อมทั้งภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เข้าร่วมการประชุมเพื่อแรกเปลี่ยนเรียนรู้ ขับเคลื่อนโครงการมหัศจร
ภาคีเครือข่ายความร่วมมือร่วมพัฒนาชุมชนแหลมสนอ่อน

วันที่ 13 มกราคม 2566 ทีมงานจากคณะแพทยศาสตร์ ม.อ.พร้อมเจ้าหน้าทึ่ pcu สมิหลา มานัดหมายเกี่ยวกับการลงพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อนของนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ ม.อ.ในเดือนกุมภาพันธ์ที่จะถึงตอนนี้กำลังไปดูห้องพักชุมชนสำหรับนักศึกษาจำนวน 23 คนถือเป็นจุดเริ่มต้นการต้อนรับคณะผู้มาเยือนด้วยห้องพักและครัวชุมชนแหลมสนอ่อน ซึ่งจะสอดคล้องกับการวางตำแหน่งชุมชนของเราเป็น " ชุมชนท่องเที่ยว"นอกจากนี้ คุณย
ท่องอินเดีย 2022

ไปอินเดีย เราไปกันเพียง 4 คน มี 4 เป้าหมาย คล้ายจะไปกันคนละทิศคนละทางคนหนึ่งไปตามรอย พระศิวะนาฏราช ค้นหาคัมภีร์นาฏยศาสตร์คนหนึ่งไป ตามหาถิ่นฐานบ้านเกิดของบรรพชนคนหนึ่งไปตามเส้นทางทางการศึกษาแห่งอิสระภาพของความเป็นมนุษย์และอีกคนหนึ่งไปในฐานะผู้ติดตามและอยากรู้อยากเห็นตามที่เขาตั้งใจไปกันแต่ในใจแอบมีจุดมุ่งหมายส่วนตัวในทางภูมิศาสตร์และสังคม เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์โฆแล้วคิดว่าถึงที่สุดแล้ว
ประชุมเครือข่าย(ชุมชน)ร่วมพัฒนาเมืองสงขลา

ประชุมเครือข่าย(ชุมชน)ร่วมพัฒนาเมืองสงขลาวันที่ 11 มกราคม 2566 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 31 ชุมชน จาก 55 ชุมชนเขตเทศบาลนครสงขลาเสนอรายชื่อผู้แทนเพื่อร่วมเป็นคณะกรรมการอำนวยการประสานและขับเคลื่อนเมืองสงขลาแบบมีส่วนร่วมตัวแทนชุมชนเขต 1 นายอุทัย พงษ์สมุทร /นายปราโมทย์ ดำวงษ์ตัวแทนชุมชนเขต 2 นายอรรถพล ฟ่ามวัน /นางผุสดี สุวรรณตัวแทนชุมชนเขต 3 นายทม บุหลัน /นายสุรสิทธิ์
ชุมชนของคุณพร้อมรับมือน้ำท่วมมากแค่ไหน ?

ชุมชนของคุณ พร้อมรับมือน้ำท่วม มากแค่ไหน?น้ำท่วมไม่ได้เป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์อุทกภัย เรามักพบว่า ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยไม่ได้มีการเตรียมความพร้อม เนื่องจากไม่รู้ข้อมูลความเสี่ยง ไม่มีการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าที่ชัดเจน หรือประเมินความเสี่ยงต่ำกว่าที่เป็นจริงการรับมือกับสถานการณ์โดยทั่วไปมักพบว่า มีการช่วยเหลือโดยหน่วยงานต่างๆ เช่น การแจกถุงยังชีพ การบริจาค การอพยพ ฯ
Hatyai Never Died

บ่ายวันนี้ (29 พ.ย.65) ประชุมคณะกรรมมการหอการค้าสงขลา ครั้งที่ 17 ของปีบริหาร 2564-2565 มีกรรมการเข้าร่วมประชุมทั้งออนไซด์และออนไลน์ โดยอาจารย์ธนวัฒน์ เป็นประธานวาระสำคัญในความเห็น(ส่วนตัว) ของผม คือก่อนปิดประชุมผมขอให้สรุปภาวะเศรษฐกิจของธุรกิจแต่ละส่วนที่กรรมการแต่ละท่านบริหารเริ่มจากภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ท่านประธาน และคุณวรัชญ์ รองประธานกรรมการหอฯและเป็นนายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์สงขลา ได้สร
กิจกรรมร่วมดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเมืองพะตง

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00 น. นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ นายกเทศมนตรีตำบลพะตง มอบหมายให้นางระพีพรรณ บัวอินทร์ รองปลัดเทศบาล พร้อมด้วย นายสมบัติ พรหมเพชร ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม นางสาวชลินทรา วิเชียร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ และเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลพะตง ร่วมกับเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง (เจ้าหน้าที่CM) คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะ
ข้อมูล คลองสำโรง

พาลงใต้ไปที่ "คลองสำโรง" คลองประวัติศาสตร์สำคัญของเมืองสงขลา ที่เชื่อมระหว่างทะเลสาบสงขลาและทะเลอ่าวไทย อดีตคลองแห่งนี้เคยเป็นเส้นทางเดินเรือ ขนส่งสินค้าสู่เมืองท่าสําคัญรอบทะเลสาบสงขลา แต่มาวันนี้หน้าที่คลองสำโรงเปลี่ยนแปลงไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาเมือง หลายหน่วยงานรวมถึงชาวบ้านริมคลองต่างพยายามช่วยกันหาแนวทาง ฟื้นคุณภาพชีวิตคนและคลองสายนี้ให้ให้ดีขึ้น แต่ก็ไม่ง่าย มีโจทย์ท้าทายมากมายที่คนสงขลาต้องช่
"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองบ่อยาง" ประจำเดือนมิถุนายน 2566

"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองบ่อยาง"วันที่ 3มิถุนายน 25ฃ66ช่วงบ่าย ห้องเรียนสวนผักคนเมืองบ่อยาง ภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลา ประจำปี2566 สนับสนุนโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ดำเนินการมูลนิธิชุมชนสงขลารอบนี้ร่วมกับนักศึกษาปี3คณะแพทย์ม.อ. หลังจากลงคัดกรองและให้ความรู้เรื่องความดันเบาหวาน ไขมันให้กับชุมชนแหลมสนอ่อน ต้องการต่อยอดสนับสนุนชุมชนปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ลดความด
"SUCCESS เมืองปาดังเบซาร์" ประชุมภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนโครงการนำร่อง

"SUCCESS เมืองปาดังเบซาร์"วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 คณะทำงานโครงการนำร่อง success เมืองปาดังเบซาร์ นัดภาคีเครือข่ายประชุมคณะกรรมการอำนวยการโครงการประกอบด้วย โรงเรียนชุมชนบ้านปาดังเบซาร์ ด่านปาดังฯ สถานีตำรวจ ทม.ปาดังฯ ตัวแทนชุมชน อสม. กลุ่มจิตอาสา เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมสภาทม.ปาดังเบซาร์ผลการประชุมมีเรื่องสำคัญนอกจากการรับทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการแล้ว ยังได้ให้ข้อเสนอแนะและความร่วมมือที่เ
"ตลาดล่วงหน้า : ความร่วมมือเกษตรสุขภาพอำเภอหาดใหญ่"

"ตลาดล่วงหน้า : ความร่วมมือเกษตรสุขภาพอำเภอหาดใหญ่"26 พค.66 โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลาประจำปี 2566 รับผิดชอบโดยมูลนิธิชุมชนสงขลา โดยการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ประสานเกษตรกร คู่ค้า ลูกค้า(รพ. ร้านอาหาร) และหน่วยงานสนับสนุนจำนวน 52 คนประชุมสร้างความร่วมมือการจัดส่งวัตถุดิบอาหาร ผัก ผลไม้ ข้าว มาตรฐาน GAPและอินทรีย์ ณ ห้องประชุมสนง.สหกรณ์การเกษตรหาดใหญ่
เวทีชี้แจ้งกิจกรรมโครงการนำร่องเมืองละงูแกนคณะทำงานพื้นที่กลางน้ำและปลายน้ำคลองละงู

วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 คณะทำงานเมืองละงูจัดประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการนำร่องพื้นที่เมืองละงู โครงการพัฒนากลไกภาคีเครือข่ายอนุรักษ์ ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์คลองละงูเพื่อให้แกนคณะทำงานในพื้นที่กลางน้ำและปลายน้ำรับฟังชี้แจงวัตถุประสงค์ โดยคุณกัลยทรรศน์ ติ้งหวังพูดคุย แนะนำ ชวนคิด โดยคุณวิรัช โอมณีจัดทำฐานข้อมูล,ชุดข้อมูลแบบสำรวจโดยคุณเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวันจากนั้นแบ่งกลุ่มดูช
ความก้าวหน้าจากกิจกรรมหารือร่วมกับแกนนำชุมชนนำร่องในพื้นที่เมืองบ่อยาง (ชุมชนแหลมสนอ่อนและชุมชนสนามบิน)

วงหารือเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 ชาวชุมชนแหลมสนอ่อนชุมชนแหลมสนอ่อน มีเรื่องต้องแก้ไขในระยะนี้ 3 เรื่องคือเรื่องที่ 1 จำนวน 5 รายต้องเตรียมเอกสาร ไปตามหมายเรียกของตำรวจเรื่องที่ 2 หนังสือราชการที่เพิ่งรับร้อนๆในวันนี้ คือ จังหวัดแจ้งคำพิจารณาอุทธรณ์จำนวน 18 ราย ว่า "ยกอุทธรณ์" ซึ่งนับจากวันนี้ไป 30 วัน 18 รายนี้จะต้องไปยื่นเสนอคำฟ้องเป็นหนังสือยื่นต่อศาลปกครอง ภายในสามสิบว
ภาคีเครือข่ายหนุนเสริมตลาดอนามัย ตลาดสุขภาพเมืองพะตง

ตลาดอนามัย เป็นความร่วมมือของเครือข่ายผู้ผลิต ร่วมกับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติพะตง และภาคีเครือข่าย เปิดพื้นที่กลางสำหรับเชื่อมโยงผู้คนในพื้นที่เมืองพะตง ร่วมขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต จุดเน้นเริ่มจากสุขภาพและอาหารปลอดภัยจากการผลิตที่ปลอดสารพิษทางวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์และเครือข่ายเทศบาลตำบลพะตง ขอขอบคุณ บริษัทศรีตรังโกฟลส์ที่มามอบชุดผ้ากันเปื้อนให้กับกลุ่มผู้ค้า(ตลาดอนามัย)ค่ะลัดด
ประชุมแกนคณะทำงานพื้นที่ชุมชนบาลาเซะห์เก้าแสน เมืองบ่อยาง

วันที่ 17 พฤษภาคม 2566เวลา 10.00 น.ใด้นัดพบกันเพือทำงานในชุมชนเพื่อความชัดเจนขอชุมชนในการตั้งชื่อชอยให้ทุกคนทั้งในและคนนอกใด้รู้จักชอยให้มากขึ้นมีชื่อชอยทุกคนก้อใด้รู้ว่าตรอกนี้ชอยชื่อชอยอะไรเพราะอยู่ๆๆมาไม่เคยมีแต่วันนี้ทีมทำงานจะลงตามชอยและตั้งชื่อชอยไปพร้อมๆกัน เป็นสิ่งทีดีของชุมชนบาลายที่ชาวบ้านพร้อมด้วยทีม.อ.ส.ม.ลงมาช่วยขับเคลื่อนด
ประชุมหารือและแลกเปลี่ยนความคืบหน้าการดำเนินโครงการนำร่อง SUCCESS ภาคใต้และภาคอีสานประจำเดือนพฤษภาคม 2566

วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 ประชุมหารือและแลกเปลี่ยนความคืบหน้าการดำเนินโครงการนำร่อง SUCCESS ปีที่ 4ระหว่างทีมสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย(TEI) ทีมศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์เอกชนสาธารณประโยชน์ (ศปส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (CSNM) และทีมมูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF)ร่วมนำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการนำร่องในแต่ละเมือง และแผนการทำงานหลังการเลือกตั้ง เพื่อ
ประชุมเครือข่ายสมาชิก "ชุมชนบ้านหลบมุม"

"ชุมชนบ้านหลบมุม"ชุมชนแห่งนี้มีลักษณะใหม่ เกิดขึ้นจากการพัฒนา มิได้อยู่ในขอบเขตการปกครองของระบบกฏหมายแห่งรัฐที่นี่มีโรงงานทั้งสิ้น 14 แห่ง มีแรงงานต่างชาติ ต่างถิ่นเข้ามาอยู่ในพื้นที่จำนวนมาก (เกิน 4 ปีตามสัญญาจ้าง-เกือบพันคน) คนเหล่านี้อยู่ในบ้านเช่าบ้าง ในโรงงานบ้าง หรือในสถานที่ซึ่งนายจ้างจัดหาให้ บางส่วนเป็นคนไทย ต่างถิ่น เข้ามาบุกรุกที่ดินการรถไฟ จับจองและสร้างที่พัก ราว 200 ครัวเรือน มีปร