Topic List
"ประชุมทีมiMedCare"วันที่ 26 มิถุนายน 2566 ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยที่บ้าน iMedCare ดูการใช้งานแอพฯก่อนเปิดใช้งานจริง เป็นกิจกรรมภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลาประจำปี 2566ระบบกลางจะมีเอกสารกลางให้กับทีมทุกคนประกอบด้วยแนวคิด แนวทาง มาตรฐานการบริการ สัญญาจ้างบริการทุกประเภท รวมถึงรายละเอียดของทีมงานที่ประชุมได้สรุปภาพรวม ขั้นตอนดำเนินการต่างๆ ในส่วนที่เก
วันที่ 16 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ม.อ.มูลนิธิอนุรักษ์ป่าต้นน้ำและมูลนิธิชุมชนสงขลา มอบจอบและพร้า ให้ ทสม.คลองหอยโข่ง(ป่าผาดำ)มอบอาวุธ(จอบ พร้า) ให้ทสม.(ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอาสาสมัคร)ป่าต้นน้ำผาดำ โดยมูลนิธิรักษ์ป่าต้นน้ำ(เงินบริจาคจากกำไรของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) โดยคุณประโชติ อินทร์ถาวรกับมูลนิธิชุมชนสงขลาโดยคุณชิต สง่ากุลพงศ์ กั
"เครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลาSGS-PGS"หลังโควิดซา ทีมตรวจแปลงของเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดที่มีทั้งเกษตรกร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงตรวจแปลงสมาชิกทั้งใหม่และเก่าที่ถึงรอบการตรวจแปลงเพื่อการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมของ SGS-PGSเห็นพัฒนาการของรูปแบบการผลิต การวางแนวกันชน รวมถึงการเก็บข้อมูลของทีมตรวจแปลงที่จะนำมาเข้าสู่กระบวนการรับรองต่อไป ผลผลิตจากเกษตรกรเหล่านี้จะถูกส่งต่อไปยัง
"iMed ควนลัง"วันที่ 5 กันยายน 2565 นัดทีม CG อสม.และผู้สนใจเป็นผู้ดูแลที่บ้าน เข้ารับการอบรมกับคณะพยาบาลในพื้นที่ตำบลควนลังมาพบกันที่ รพ.สต.ควนลัง เบื้องต้นได้มีการลงเยี่ยมบ้านไปจำนวนหนึ่ง และอีกส่วนหนึ่งดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่รพ.สต."iMed พะตง"วันที่ 8 กันยายน 2565 มูลนิธิชุมชนสงขลา ดร.แสงอรุณ อิสระมาลัยและคณะ นัดผู้สมัครเข้าอบรมการให้บริการตามหลักสูตรพัฒนา ผู้ดูแลที่บ้าน ตำบลพะตง มาร่วมรับ
"วิสาหกิจชุมชน ทต.ปริกรองรับการขับเคลื่อน iMedCare"การดูแลผู้สูงวัยหรือผู้ป่วยที่บ้านด้วยการพัฒนากลไกธุรกิจเพื่อชุมชนเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่มูลนิธิชุมชนสงขลา/อบจ.สงขลา คณะพยาบาลศาสตร์มอ.และเครือข่ายพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมจังหวัดสงขลา/กขป.เขต ๑๒ กำลังดำเนินการ ได้นัดหมายผู้บริหาร ทต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลานำโดยนายกสุริยา ยีขุน ทีมงานสาธารณสุข กองสวัสดิ์ และผู้ดูแลที่บ้าน(HCG)ที่ผ่านการอบรมและม
"ระบบข้อมูลกลาง"ราวปี 2554 ทางสปสช.เขต ๑๒ โดยผอ.ธีรวัฒน์ กรศิลป์ มาชวนมูลนิธิชุมชนสงขลานำข้อมูลผู้ป่วยบัตรทองของสปสช.ของเขตมาพัฒนาเป็นระบบข้อมูลเพื่อนำเสนอสถิติในแต่ละพื้นที่ให้เห็น ๑๐ อันดับโรคที่ผู้ป่วยบัตรทองไปใช้บริการ ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับกองทุนตำบลที่จะนำไปทำแผนสุขภาพระดับตำบลแก้ปัญหาต่อไปจุดเริ่มต้นนี้ทำให้เราพัฒนา www.ข้อมูลชุhttp://xn--b3c4aw.com/ มาเรื่อยๆ ยังเสียดายข้อมูลชุด
Platform : iMedCare ดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงที่บ้านโบริการด้วยหัวใจ มอบความห่วงใยถึงบ้านโWe serve excellent care at your homeสภาพปัญหา-โรคเรื้อรังส่วนมากเกิดกับคนที่มีอายุมากขึ้น หรือผู้สูงอายุ ที่ขณะนี้ไทยเรามีประมาณร้อยละ 20 ของประชากร หรือ 12 ล้าน และจะเพิ่มขึ้นปีละ 1 ล้าน (ภาคใต้ประมาณ 1.5 ล้านจากประชากรทั้งหมด 10 ล้าน คิดเป็นร้อยละ 8 ของประเทศ) ในจำนวนนี้ร้อยละ 16 เจ็บป่วยมาก (เกือบ 2
"ชุด Care set สงขลา"สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิดระลอก ๓ ยาวนานและส่งผลกระทบอย่างกว้างขวาง มูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะองค์กรประชาสังคมที่เป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่สงขลา จึงคิดหาทางช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบพัฒนาแนวทางที่เรียกว่า ชุด Care set ให้กำลังใจผู้ได้รับผลกระทบ โดยสรุปบทเรียนจากการช่วยเหลือระลอกแรกเป้าหมาย ลดช่องว่างดูแลผู้ได้รับผลกระทบที่มักจะตกหล่นจากระบบการช่วยเหลือของภาครัฐ ได้แก่ คนไทยไร้สิทธิ
"ฝายดักขยะวัดคลองแห"ราวปี 2548 ผม พี่ดุก จ่าคม ร่วมกับกลุ่มรักษ์คลองแห ได้ทดลองสร้างฝายเพือดักขยะจากเมืองหาดใหญ่ ที่มาในพื่้นที่ ขยะจำนวนมากโดยเฉพาะหน้าฝนมีทั้งพลาสติก กระดาษ ฟูกนอน ทีวี. สาระพัดไหลมากับสายน้ำ สร้างปัญหากระทบกันโดยแทบจะไม่มีใครมาแก้ไขฝายรอบแรกทำด้วยไม้ ไม่ประสบความสำเร็จ พังไปกับความแรงของน้ำและขยะที่อัดแน่น ต่อมาทำเป็นฝายหัวเฉียง ใช้เสาเข็มวางเพื่อความแข็งแรง แต่ก็ไม่อาจทานคว
วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๒ ทีมงานเทศบาลเมืองบ้านพรุชวนไปช่วยสร้างกระบวนการเรียนรู้การทำแผนชุมชน ร่วมวิเคราะห์ทุนทางสังคม ซึ่งเป็นกิจกรรมย่อยของโครงการจัดทำข้อมูลประกอบการทำแผนชุมชน ของ ๑๑ เขตในพื้นที่นำบทเรียนการวิเคราะห์ชุมชนพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งตัวบุคคล สภาพแวดล้อม ระบบและกลไกที่เกี่ยวข้องกับชุมชนมาดูแง่มุมต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยใช้หลักคิด "เก้าอี้ ๔ ขา" กระตุ้นให้ชุมชนมองเห็นความสำ