1083 items|« First « Prev 87 88 (89/109) 90 91 Next » Last »|
โดย punyha on 9 มี.ค. 62 09:15

"อุตุเป็นเรื่องของทุกคน"ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก เห็นช่องว่างการสื่อสารการพยากรณ์อากาศในแต่ละวันที่เป็นในลักษณะกว้าง ไม่เฉพาะเจาะจง และคนยังเข้าไม่ถึงข้อมูล จึงคิดริเริ่มนำความรู้ด้านอุตุฯมาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเริ่มทำกับกลุ่มอาชีพข้อมูลด้านใดบ้าง? อุณหภูมิ ความชื้น ลม ฝน ที่จะมีผลต่อการผลิตยกตัวอย่าง อดีตเจ้าหน้าที่ส่งเสริมเกษตรบอกว่าเดือน 3 ของปีจะเป็นช่วงเวลาที่ผลผลิตผักงดงามท

โดย punyha on 5 มี.ค. 62 15:25

โการจัดการขยะของชุมชนตำบลชะแล้โพื้นที่หมู่ 1 ต. ชะแล้ อ. สิงหนคร จ. สงขลาทุกๆวันที่5ของแต่ละเดือน เรามีนัดกันที่ศาลาเอนกประสงค์หมู่บ้าน เพื่อที่จะนำขยะรีไซเคิลที่คัดแยกแล้ว มาแลก น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน สบู่ (ของที่ใช้แลกทางคณะกรรมการจะช่วยทำกัน)เพื่อนำกลับไปใช้ในแต่ละครัวเรือน แต่ละเดือน เพื่อลดค่าใช้จ่ายขยะที่แลกไว้แล้วคณะกรรมการการจัดการขยะจะประสานงานกับทางผู้ที่ซื้อจะมาซื้อไปเลยเพื่

โดย punyha on 5 มี.ค. 62 15:18

"เครือข่ายท้องถิ่นสงขลาร่วมปักธงจัดทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมกับท้องถิ่นจังหวัดสงขลาชวนเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดสงขลา เป้าหมาย ๒๒ ตำบล ที่ห้อง ceo ชั้น ๕ ศาลากลางจังหวัด วันนี้มาร่วมได้ ๑๔ ตำบล เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ทั้งนำเสนอและแจกคู่มือการทำงานประกอบการทำความเข้าใจการได้มาของ ๒๒ ตำบลประกอบด้วย ตำบลที่

โดย punyha on 1 มี.ค. 62 21:28

"แปลงขวดกันแมลงและไก่"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองอีกรูปแบบการจัดการแปลงผักสวนผักคนเมืองที่นำวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์๑.นำขวดน้ำเหลือทิ้งมาทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง๒.หรือใส่น้ำในขวด นำลวดมาผูกร้อยกั้นเป็นแปลงผักล้อมรอบไม้ผลหรือผักที่ปลูกในรูปทรงต่างๆ๓.ความมันวาวของพลาสติกจะช่วยไล่แมลงและกันไม่ให้ไก่ลงจิกผลผลิตได้ทั้งสีสันความสวยงาม จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงได้แดดอีกนวตกรรมจากป้าทุม-ลุงยู

โดย punyha on 1 มี.ค. 62 21:24

"iMed@home"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองยุคดิจิตอล จึงเกิดแอพพลิเคชั่นเพื่อบริการทางสังคมที่มูลนิธิชุมชนสงขลาและคุณภาณุมาศ นนทพันธ์ โปรแกรมเมอร์ได้พัฒนาขึ้น เพื่อสนองตอบการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรกลุ่มเปราะบางทางสังคมทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ คนยากลำบากหลักการสำคัญก็คือ๑.ลดช่องว่างระบบข้อมูลรายบุคคลที่หน่วยงานต่างๆถือกันคนละชุด ไม่สามารถใช้ฐานอ้างอิงข้อมูลเดียวกัน แอพฯนี้จะใช้เลข ๑

โดย punyha on 1 มี.ค. 62 21:18

"ตลาดอยู่ในมือเรา"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองร่วมพัฒนาศักยภาพให้กับแกนนำสหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดสงขลา รุ่นที่ ๑ ที่รับการสนับสนุนระบบน้ำไปเพื่อการส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสาน ในด้านแผนการผลิต การตลาด ร่วมกับพี่ชัยวุฒิ บุญวิวัฒนาการฐานผู้เข้ามาจากอำเภอสทิงพระ ระโนด กระแสสินธุ์ สิงหนคร คลองหอยโข่ง ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย บวกกับเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์การเกษตร พืชผลที่กำลังดำเนินการก็มีหลากหลายทั้งยาง

โดย punyha on 24 ก.พ. 62 19:07

"สวนเบญจพฤกษ์"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองจากครูเด็กอนุบาลมาสู่การเป็นทีมวิทยากรสวนผักคนเมือง ป้าทุมในวัยที่สามารถสร้างคุณค่าในชีวิตนำทักษะการเป็นครูมาใช้ในการยกระดับความรู้จากการลงมือทำ "ปัญญาปฎิบัติ" กับลุงยูรสามี ขยายผลไปสู่ผู้สนใจ มีคนเข้ามาเรียนรู้ ณ สวนเบญจพฤกษ์อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอมากว่าสามปีแล้วรูปแบบการปลูกผักที่นำแนวทางสวนผักคนเมืองมาใช้ จัดการกับพื้นที่สวนขนาดย่อม มีทั้งไม้ผล ผัก ผสม

โดย punyha on 20 ก.พ. 62 20:29

จากโคหายมาเป็นคูหาเขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองประชุมภาคีเครือข่ายท้องถิ่น ท้องที่ โรงเรียน ชุมชน กศน. รพสต. รพ. และพชอ.(คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ) ของตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย เป็นจุดเริ่มต้นการทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่ใช้สถานที่ห้องประชุมรพ.สะบ้าย้อย เป็นพื้นที่กลางโดยมีปลัดอำเภอมาเป็นประธาน เริ่มด้วยการเล่าที่มาของตำบลจากนายกและผอ.รพ.สต.ที่ชื่อนั้นเพี้ยนมาจาก"โคหาย" มาเป็น "คูหา" ใช้ Time

โดย punyha on 19 ก.พ. 62 22:35

"ชุมชนแหลมสนอ่อน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองสองปีเต็มที่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนแหลมสนอ่อน ชุมชนใหม่ล่าสุดของเทศบาลนครสงขลา มีโอกาสได้เรียนรู้การทำงานในเขตเมืองและกลุ่มคนเปราะบางที่น่าสนใจมาก ก็คือ๑) เป็นชุมชนที่เริ่มต้นท่ามกลางปัญหานานา ทับซ้อนกันหลายมิติ กล่าวคือ ที่ดินเป็นของธนารักษ์ ส่วนหนึ่งมอบให้เทศบาลนครสงขลาเช่าใช้ประโยชน์ ส่วนที่ชุมชนกว่า ๗๐ ครัวเรือนพำนักอยู่นั้นยังไม่ได้ทำสัญญ

โดย punyha on 19 ก.พ. 62 22:28

"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองนัดทีมวิทยากรหลักของการจัดทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่จังหวัดสงขลา ที่จะดำเนินการใน ๒๒ ตำบลหารือแนวทางดำเนินการธรรมนูญคือ เจตนารมณ์ ทิศทางในเชิงนโยบายสาธารณะของพื้นที่ หรือ...ข้อตกลง กติกา แนวปฎิบัติ "ชันชี" สัญญาใจ จะเรียกอะไรก็ได้ ทำได้หลายระดับหัวใจสำคัญก็คือ ประชาชนในพื้นที่ร่วมเป็นเจ้าของนโยบายสาธารณะนั้นด้วยตัวเอง สามารถขยับไปได้ถึงการสร้างประชาธิป

1083 items|« First « Prev 87 88 (89/109) 90 91 Next » Last »|
personมุมสมาชิก

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน.

เครือข่าย

เครือข่ายมูลนิธิชุมชน