"ชุมชนแหลมสนอ่อนกับการรับมือความเสี่ยงด้านสุขภาพ"วันที่ 20 กันยายน 2566 นักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา 8 คนที่มาฝึกงาน ณ ชุมชนแหลมสนอ่อน ร่วมกับเครือข่าย PCU สมิหลา อสม. แกนนำชุมชน และมูลนิธิชุมชนสงขลา จัดเวทีประชาคมเพื่อคืนข้อมูลจากการลงสำรวจสถานะสุขภาพระดับบุคคลใน 51 ครัวเรือน เมื่อวันที่ 15-17 กันยายนที่ผ่านมา ได้ข้อมูลประชากรวัยเกิน 35 ปีมาจำนวน 100 คน โดยมีแกนนำชุมชน อสม. PCU สมิหลา
ผีเสื้อขยับปีก 11 "สมัชชาพลเมืองสงขลา"
เรียบเรียงโดย ชาคริต โภชะเรือง และอภิศักดิ์ ทัศนี
สนับสนุนการจัดทำโดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา
"iMedCare อำเภอเมืองสงขลา"วันที่ 16 กันยายน 2566 มูลนิธิชุมชนสงขลานัดแกนนำ HCG หรือผู้ดูแลที่บ้านในพื้นที่อำเภอเมืองที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มาทำความเข้าใจแนวทางการจัดบริการผ่าน Platform iMedCare ณ ห้องประชุมมูลนิธิชุมชนสงขลาพร้อมกับผู้ประสานงานพื้นที่อำเภอสะเดา อำเภอหาดใหญ่ มาร่วมแลกเปลี่ยน โดยมีดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย ในฐานะผู้พัฒนาหลักสูตรร่วมให้ข้อเสนอแนะทีมงานได้รับท
"ภาคีพลเมืองสงขลาจับมือจัดสมัชชาชูแนวคิด โหุ้นส่วนการพัฒนาโ หา พ.ว.ก. ในการพัฒนาสงขลา"เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2566 ภาคีพลเมืองสงขลากว่า 20 องค์กรร่วมกันจัดงานสมัชชาพลเมืองสงขลา ประจำปี 2566 โดยการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาและสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 141 แห่ง หน่วยงานราชการ มหาวิทยาลัย และภาคีเครือข่ายในพื้นที่จำนวน 200 คนร่วมกันรับฟังผ
"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองวาระพิเศษ"วันที่ 8 กันยายน 2566 ห้องเรียนสวนผักคนเมืองมูลนิธิชุมชนสงขลา เปิดพิเศษให้กับทีมอสม.ตำบลพะตงและชุมชนบ้านหลบมุม ตำบลพะตง รวมถึงทีมงานสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ร่วม 60 ชีวิตมาเรียนรู้ ณ สวนเบญจพฤกษ์ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว การใช้ประโยชน์จากขยะเปียกและวัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาใช้ประโยชน์สวนเบญจพฤกษ์ เป็นแหล่งเรีย
"ข้อมูลกลางคนสงขลา วางเป้า 1 ID 1 OneStop Service"วันที่ 4 กันยายน 2566 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา อบจ.สงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา จัดประชุมภาคีความร่วมมือที่ได้ MOU ในการพัฒนาระบบข้อมูลกลางคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่รอการฟื้นฟู เมื่อกุมภาพันธ์ 2564 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศูนย์บริบาลผู้สูงอายุอบจ.สงขลานางฐิตารีย์ เชื้อพราหมณ์ รักษาการผอ.กองสาธารณสุข อบจ.สงขลา กล่าวถึงความเป็นมา แนวคิ
"บทเรียนจาก 15 ปี ธรรมนูญสุขภาพภาคใต้"1-2 กันยายน 2566 เครือข่ายที่ดำเนินการธรรมนูญสุขภาพตำบลในพื้นที่ภาคใต้มาร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียนการดำเนินงานกัน ณ บ้านช่องฟืน อ.ปากพะยูน จ.พัทลุงโดยมีสนง.คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)สนับสนุนการดำเนินงานประกอบด้วยพื้นที่ดำเนินการธรรมนูญเชิงพื้นที่ซึ่งเป็นต้นแบบ ได้แก่ ทต.ชะแล้(แห่งแรก ปี 2552) อบต.นาทอน ร่วมแลกเปลี่ยนกับพื้นที่ดำเนินการใหม่ ที่มีทั้งธรรมนูญ
จังหวะก้าวที่ภาคภูมิใจก้าวแรกเกิดแปลงตำลึงทองก้าวที่สองสู่สวนผักกลางป่าสนพลังใจสู้จนเติบใหญ่เป็น "สวนผักคนเมืองบ่อยาง "วันนี้ด้วยความมุมานะบากบั่น พวกเราได้นำพาโครงการ "สร้างแหล่งอาหารชุมชน คนบ่อยางสร้างเงิน" ถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างเรียบร้อยสมบูรณ์พวกเรายังมีพลังสร้างสรรค์ ต่อยอดไปอีกอย่างไม่หยุดยั้ง สามารถติดตามได้จากผลงานสำคัญ อาทิ1.โครงการ SUCCESS เตรียมเมืองเพื่อรับมือการเป
"Open Data"ข้อมูลนำไปสู่การจัดการความรู้ นำไปสู่นโยบายและการพัฒนา รวมไปถึงการติดตามประเมินผลทว่าปัจจุบัน การทำงานภายใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์ ข้อมูลอยู่คนละหน่วยงาน คนละฝ่าย แถมถือวิธีการและวัตถุประสงค์การใช้งานที่แตกต่างกัน ทั้งที่การทำงานไม่อาจแยกส่วนจากกัน มีการเชื่อมโยงเชิงระบบไปด้วยกัน ไม่นับรวมว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ตกหล่น ประชากรมีการเคลื่อนไหวข้ามพื้นที่ เลื่อนไหลอยู่ตลอดเวลาการทำง
"success ควนลังรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่"วันที่ 14 สิงหคม 2566 โครงการนำร่องของ success ควนลัง เดินหน้าทำกิจกรรมประสานเกษตรกรกว่า 50 ชีวิตมาร่วมจัดตั้งกลุ่มเกษตรสุขภาพระดับตำบล ร่วมแก้ปัญหาเรื่องน้ำ การผลิต และการตลาด ณ กศน.ควนลัง โดยมีคณะทำงาน กศน.ควนลัง และมูลนิธิชุมชนสงขลาเข้าร่วมคณะทำงานได้กล่าวต้อนรับชี้แจงวัตถุประสงค์ สรุปผลการประเมินความเปราะบางเบื้องต้นซึ่งชี้ประเด็นการบริหารจัดการน้ำขอ