"Success บ่อยาง ชุมชนภราดร"วันที่ 23 ตุลาคม 2566 คณะทำงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองบ่อยาง นัดคณะทำงานชุมชนภราดรมาเพื่อประชุมจัดทำข้อมูลและร่างแผนชุมชน ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาเมือง ณ ที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์ชุมชนเริ่มด้วยการจัดทำประวัติศาสตร์ชุมชน พบว่าที่นี่เป็นชุมชนที่ขยายตัวมาจากชุมชนกุโบร์ ที่ก่อตั้งเมื่อปี 2527 ประชากรในพื่้นที่อาศัยอยู่มาก่อนตั้
"แผนสุขภาพและกติกาสุขภาพชุมชนแหลมสนอ่อน"วันที่ 21 ตุลาคม 2566 นัดหมายสมาชิกชุมชนแหลมสนอ่อน เพื่อนชุมชนใกล้เคียง ทีมกองสาธารณสุขทน.สงขลา โดยมีอาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลาเข้าร่วมกิจกรรมภาคเช้าเริ่มด้วยการแนะนำตัว พร้อมกับบอกเล่าสถานะสุขภาพของตนหลังผ่านการคัดกรองจากนักศึกษาและอสม.ทำให้ได้รู้ว่าหลายคนป่วยเป็นโรคหลายอย่าง บางคนผ่านการผ่าตัดมาหลายรอบ บางคนอยู่กับอาการช็อคจนเป็นปก
วันที่ 17 ตุลาคม 2566 โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (โครงการ SUCCESS) ได้จัดอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรที่มีการผลิตแบบเกษตรปลอดสารพิษและจัดทำแผนการตลาดให้เป็นจุดนำร่องส่งผลผลิตภายใต้แนวคิดตลาดล่วงหน้าผ่าน Platform IGreensmile ณ สวนลุงนุ้ย ป้าสาวโดยมีนายร่อซี หนิมุสา รองนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองควนลัง ได้ให้เกียรติเป็นประธานพิธีเปิดการอบรมกิจกรรมการอบรม1.นำเสน
วันที่ 9 ตุลาคม 2566 มูลนิธิชุมชนสงขลาจับมือกับเกษตรอำเภอหาดใหญ่ โดยการนำของครูไก่ เกษตรจังหวัดสงขลา ร่วมสนับสนุน Lee Gardens Plaza Hotel ที่ต้องการทำเรื่อง Sustainability โดยชักชวนพนักงานที่สนใจการปลูกผักแบบสวนผักคนเมืองบนดาดฟ้าของโรงแรม มาร่วมเรียนรู้ ณ สวนลุงนุ้ยป้าสาวและสวนเบญจพฤกษ์ เพื่อจุดประกายสร้างแรงบันดาลใจและร่วมกำหนดแนวทางดำเนินการร่วมกันสมาชิกได้เรียนรู้เรื่องพื้นฐาน ได้แก่ กา
"imedcare"มูลนิธิชุมชนสงขลานัดทีมผู้ประสานงานพื้นที่และผู้ดูแลที่บ้าน(home care giver) เรียนรู้การใช้แอพพลิเคชั่นimedcare ที่จะเสริมหนุนการพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน1.สมัครสมาชิก : ดาวน์โหลด ติดตั้งแอพ iMedCare ผ่าน playstore หรือผ่าน www.imedcare.org จากนั้นไปสู่การสมัครสมาชิก>เริ่มต้นใช้บริการ >สมัครสมาชิก/เข้าสู่ระบบ>สมัครเป็นผู้ให้บริการ กรณีไม่มีอีเมล์ ไปที่กำหนดค่า/ตั
"ชุมชนแหลมสนอ่อนกับการใช้เครื่องมือ 7 ชิ้นทำงานในชุมชน"วันที่ 4 ตุลาคม 2566 ทีมงานกสศ.นำภาคีเครือข่าย 8จังหวัดจากทั่วประเทศกว่า80คนจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "ลดความเหลื่อมล้ำบนความหลากหลายของวิถีชีวิตและผู้คน" ลงพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลา ร่วมเรียนรู้การนำเครื่องมือทางมนุษยวิทยามาใช้ในการแก้ปัญหาความเปราะบางของชุมชนเมือง อาทิ ประวัติศาสตร์ชุมชน แผนที่เดินดิน ผังองค์กรชุมชน ระบบส
"ประชุมทีมข้อมูลกลาง www.khonsongkhla.com"วันที่ 2 ตุลาคม 2566 นัดคณะทำงานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศกลางฯระยะสอง โดยการสนับสนุนจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา ผ่านมาทางมูลนิธิชุมชนสงขลา เพื่อวางจังหวะก้าวการดำเนินงานต่อไปมีข้อสรุปสำคัญ1.พัฒนาการจาก TOR ระยะที่ 1 แก้ไขปัญหาในส่วนของการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยีระบบสารสนเทศกลางใน www.khonsongkhla.com ซึ่งดำเนินการโดยทีมบริษัทภายนอกนำ TOR ที่กำหนดโด
"สวนผักคน(เมือง)พะตง"มูลนิธิชุมชนสงขลาส่งมอบปัจจัยการผลิตให้กับทีมอสม.พะตงกับชุมชนบ้านหลบมุม 36 คน ในการปลูกผักอินทรีย์เพื่อบริโภคในครัวเรือน ภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลา ประจำปี 2566 ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้านปลักเด อบต.พะตงโดยสนับสนุนตามความต้องการใน 4 กิจกรรม ได้แก่ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือน การทำปุ๋ยก้อน การเพาะต้นอ่อนชุดปลูกผักมีทั้งแบบมีสวนปลูกในแปลงและแบ
วันที่ 26 กันยายน 2566 ชาวสมาชิกชุมชนแหลมสนอ่อนร่วมกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพเพื่อร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ ลดอาการเจ็บป่วยจากโรคและป้องกันการป่วยเพิ่ม โดยมีทีมวิทยากรจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา และได้ร่วมวางแผนการพัฒนาธุรกิจการจัดการขยะในชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศราฐกิจในชุมชนกับทีม WWF และทีมงานวงศ์วานิชย์บุณย์บังอร ชนะโชติ บันทึกเรื่องราว
"แผนสุขภาพรายบุคคล"อีกแนวทางใหม่ที่จะต่อยอดงานของชุมชนของมูลนิธิชุมชนสงขลา นั้่นคือการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิของชุมชนเมือง โดยนำร่องที่ชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลา ใช้ Platform iMed@home ระบบกลุ่ม(ซึ่งยังมีการใช้งานกันไม่มากนัก)ในการเสริมหนุนการทำงานระหว่างชุมชน หน่วยบริการ โดยเน้นแนวคิดประชาชนมีส่วนร่วม เป็นเจ้าของและเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและจัดการตนเองด้านสุขภาพมากขึ้นเริ่มจากการกำหนดเป้าหมายร่วม ผล