กำนันและคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ 1 บ้านปากช่อง ตำบลชะแล้ ทำความเข้าใจงานที่จะทำร่วมกันในหมู่บ้านกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ภายใต้งบจากอบจ.สงขลาพื้นฐานหมู่ 1 มีการประชุมหมู่บ้านประจำเดือนระดับตำบลที่บ้านกำนันร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ ที่นี่มีกติกาหมู่บ้าน ไม่เลี้ยงน้ำอัดลม ข้าวร้อนไม่ใส่ถุง มีกิจกรรมประเพณีต่างๆงานบุญ งานพิธีในหมู่บ้านชุมชนยังช่วยเหลือร่วมแรงกันทำโดยไม่มีการว่าจ้าง อดีตที่นี่เป็นช่องทางเด
พัฒนาการของหมู่ 4 บ้านต้นมะขามเทศ ตำบลควนรู หลังปรับแนวคิดการพัฒนาหมู่บ้านแบบมีส่วนร่วม การประชุมรอบนี้มีคนหน้าใหม่เข้ามาร่วมหลายคน มีการเสนอความเห็นร่วมมากขึ้น แม้จะงงๆหรือไม่เข้าใจทะลุปรุโปร่งมากนักว่ากำลังทำอะไรกันอยู่การกระจายพื้นที่ตามเขตบ้าน มีกรรมการดูแลแต่ละเขตทำให้ดูแลหรือทำงานร่วมกันง่ายมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ได้โอกาสในการดึงสมาชิกหน้าใหม่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนามากขึ้น จะทำเช่นนี้ได้ก
เลขาน้อย ทวีภาพ ช่วยแก้ว เลขานายกเทศมนตรีเมืองควนลัง ต้องการทำงานการเมืองที่มากกว่าแค่ไปร่วมงานพิธี อยากให้ชุมชนได้ก้าวไปสู่การลงมือทำมากกว่าอบรมหรือดูงาน จึงพยายามประสานความร่วมมือ ดึงทรัพยากรมาลงในพื้นที่ คาราวานสวนผักคนเมืองจึงได้โอกาสลงมาทำงานด้วย"ระบบน้ำที่เห็นก็มาจากการบริจาค ถังเก็บน้ำนายกก็ให้ กระเบื้องอุปกรณ์บางอย่างก็มีเอกชนในพื้นที่มอบให้ หน้าดินที่กองอยู่ก็เช่นกัน อยากให้พื้นที่ตรงนี
เตรียมทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจำจังหวัดสงขลา ฉบับ 3ก่อนทำได้ชวนแกนนำแต่ละภาคส่วนมาสรุปบทเรียนการทำแผน 2 ฉบับที่ผ่านมา เริ่มด้วยการทบทวนกลไกที่มีอยู่ของงานคนพิการ พบว่ามีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก อาทิ ภาครัฐ/ส่วนภูมิภาค ภาคท้องถิ่น องค์กรคนพิการ องค์กรเพื่อคนพิการ ซึ่งมีกระจัดกระจายหลากหลายไปในแต่ละด้าน ทั้งหมดนี้ล้วนมีแผนงานเป็นของตนเอง ส่วนใหญ่ยึดโยงมาจากส่วนกลาง หรือมีแผนของตนเองในก
การทำงานกับภาครัฐ ที่จะไม่สร้างความขัดแย้งและเติมเต็มซึ่งกันและกันบนฐานประโยชน์ของสาธารณะ ควรจะมีทั้งการทำงานแบบใกล้ชิดและมีระยะห่าง บนพื้นฐานเข้าใจข้อจำกัดและศักยภาพของกันและกันวงประชุมไม่เป็นทางการ กินไปคุยไป วันนี้พัฒนากลไกความร่วมมือการเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ประกอบด้วยกองเลขาร่วม 3 ฝ่ายได้แก่ หอการค้าจังหวัด บ.ประชารัฐ และมูลนิธิชุมชนสงขลา ทำงานกับกลไกคณะทำงานที่จะก่อตัวขึ้นจากองค์ประกอบผู้มี
พรุแม่สอนเกือบจะไม่ได้ร่วมกิจกรรมคาราวานสวนผักคนเมืองหาดใหญ่แล้ว แม้ว่าพี่อารีและพี่หมัด แกนนำจะมาร่วมรับฟังแนวทางโครงการตั้งแต่แรก จนกระทั่งมีชุมชนที่ไม่สามารถขึ้นรูปโครงการได้ ห้องเรียนสวนผักคนเมืองสัญจรที่สวนป้าแจ้วทำให้ผมได้พบพี่อารีอีกครั้งที่นี่เป็นชุมชนย่อยแยกตัวออกมาจากชุมชนคลองเตย เทศบาลนครหาดใหญ่ แกนนำที่มีไม่มากนักต้องการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างความสามัคคีของคนในชุมชน การทำสวนผักคนเ
บางคนสร้างฝันในชีวิตเมื่อยามเผชิญจุดเปลี่ยน บางคนเก็บออมบ่มเพาะความฝันจนรอถึงวันเวลาที่เหมาะสม ผมเชื่อว่าทุกคนมีความฝันของตน ฝันนั้นอาจต่างไปในเชิงรายละเอียดอ.พิชัย ศรีใส วางความฝันของตนในวัยสุกงอมของความคิดและถึงพร้อมในด้านเงินทอง ใช้ชีวิตหลังวัยเกษียณบริหารเวลาที่เหลือจากงานทางสังคม บุกเบิกพื้นที่ว่างให้กลายเป็นอาณาเขตแห่งความฝันของตน ด้านหนึ่งปรับแปลงบ้านขนาดย่อมเพื่อเป็นแหล่งพักพิงในยามว่าง
สวนผักคนเมืองชุมชนริมควนเปิดพื้นที่แหล่งเรียนรู้ใหม่ ณ ซอยสุมาลีโดยมีพีตา-อรนุชเป็นแกนนำ กับสมาชิกกว่าสิบคน ตั้งใจใช้พื้นที่ว่างของโรงทำขนมทำสวนผักได้เริ่มปลูกไปบ้างแล้วแต่ติดขัดความรู้พื้นฐานทำให้ผักที่ปลูกไม่ค่อยได้ผล แต่ก็เห็นวัสดุใหม่คือใช้อ่างอาบน้ำมาปลูกผัก น่าสนใจนัดเปิดห้องเรียนสวนผักคนเมืองกันวันที่ 5 กรกฏาคม 8.30-11.30 น. ณ โรงขนมสุดซอยสินทรัพย์ 4 โดยมีบังสวาสดิ์เป็นวิทยากรหลัก ทีม
สวนของป้าทุม-ประทุมทิพย์ ส่งแสงอ่อนและสามี ใช้ชีวิตหลังเกษียณสองคนด้วยการปลูกผักอินทรีย์ในพื้นที่สวนรอบบ้าน ที่รายล้อมด้วยป่ายางอดีตเป็นป่าดังนั้นจึงมีสัตว์ต่างๆเข้ามาแบ่งปันพืชผลที่ปลูกอยู่เนืองๆ โดยเฉพาะหนู ผักและผลไม้ที่ปลูกก็มีหลายหลาก มะละกอ แก่นตะวัน ข้าวโพด มะนาว สัปรด ถั่วท้ายล่อ ผักบุ้ง ฟักทอง ฯลฯ ผักในถุงฟรอยด์ที่ได้จากศูนย์การค้าก็มีมากเป็นจุดเด่นของสวนนอกจากที่มีในกระถาง กระสอบ ถุง
ชุมชนริมควน ริมคลองร.1 เทศาพัฒนา วัดหาดใหญ่ใน พรุแม่สอน แม่ลิเตา โรงปูน คลองเตยร่วมห้าสิบคน ยกขบวนมาที่บ้านบังสวาสดิ์ร่วมเรียนรู้การปลูกผักคนเมือง อาทิ การเพาะถั่วงอกในขวด ในตะกร้าขนมจีน การปลูกผักในล้อยาง ในแกลลอน ในท่อพีวีซี ในกระสอบเรียนรู้การทำที่ดักแมลง การปลูกมะเขือห้อยหัว เรียนแล้วก็ลงมือทำ ช่วยบังสวาสดิ์ปลูกผักในล้อยาง และใช้กระสอบปุ๋ยปลูกผักแตงร้านคนละต้นนำกลับบ้านไปดูแลนัดกันรอบหน้