"พวงหรีดแบ่งปัน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองธรรมนูญตำบลบางกล่ำนับหนึ่งด้วยข้อตกลงนำร่องปรับเปลี่ยนการวางพวงหรีดงานศพ ณ วัดท่าเมรุ จากดอกไม้สดมาเป็น "พวงหรีดแบ่งปัน" โดยดำเนินการร่วมกับกลุ่มผู้สูงอายุที่กศน.บางกล่ำดูแล จัดทำหรีดพัดลม หรีดชุดนักเรียน หรีดหม้อหุงข้าว หรีดผ้าห่ม และทุนการศึกษาเชื่อมโยงประเพณีกับการจัดการขยะและร่วมสร้างสังคมไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีวัดเป็นศุนย์กลางวันนี้ประชุมคณะทำงานชุ
"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ตำบลคลองหรัง"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองตำบลคลองหรัง ชื่อตำบลอาจเพี้ยนมาจากคลองที่มีดินลูกรังมาก กับอีกความเชื่อหนึ่งอดีตเคยมีฝรั่งมาขุดคลอง เลยเรียกเพี้ยนเสียงกันมาจนกลายเป็นคลองหรังจุดเน้นการการจัดทำธรรมนูญของที่นี่ก็คือ การจัดการขยะ ซึ่งอบต.ให้ความสำคัญ นายกบำรุงลงมาเล่นด้วยตัวเอง ต้องการลงลึกถึงการจัดการขยะจากแหล่งกำเนิด คือการจัดการขยะครัวเรือนสภาพปัญหาที่พบจากผู้เข้
"ธรรมนูญตำบลท่าช้าง"ดำเนินการร่วมกันระหว่างเทศบาลตำบลท่าช้างกับมูลนิธิชุมชนสงขลา/ศปจ. จุดเน้นของพื้นที่นี้ต้องการสร้างสังคมไม่ทอดทิ้งกัน ดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลท่าช้างมีชื่อในด้านการดูแลผู้สูงอายุ ที่นี่มีศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพดูแลผู้สูงอายุที่สามารถช่วยตัวเองได้และมีศูนย์ฟื้นฟูฯเพื่อดูแลผู้สูงอายุในวัยพักพิง มีโรงเรียนผู้สูงอายุ กิจกรรมผู้สูงอายุได้รับการยอมรับเป็นจุดเด่น
"ธรรมนูญตำบลเกาะใหญ่"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองร่วมกับพชอ.กระแสสินธุ์ โดยการประสานงานของท่านสสอ.และคุณทรงพล พมจ.ชวนแกนนำชุมชนทั้งผญ. อสม. ผู้สูงอายุ รพ.สต. รพ.อำเภอ และผอ.โรงเรียน ร่วม ๑๐๐ คนมาร่วมกันทำความเข้าใจ ยกร่างธรรมนูญตำบล ณ ห้องประชุมโรงเรียนวัดแหลมบ่อท่อจุดเน้นของธรรมนูญหรือข้อตกลงของที่นี่ก็คือ การสร้างสังคมไม่ทอดทิ้งกัน ดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ และคนด้อยโอกาส ซึ่งเป็นประเด็นร่วมของพ
"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ตำบลปากรอ"เจ้าอาวาสวัดบ่อทรายเจริญธรรม ท่านผู้นำท้องถิ่น ท่านนายก กำนัน ผญ. แกนนำผู้สูงอายุราว ๘๐ คน มาทำความเข้าใจการจัดทำธรรมนุญตำบลน่าอยู่ เรื่องหลักที่ดำเนินการคือร่วมสร้างสังคมไม่ทอดทิ้งกัน ดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ คนยากลำบากในพื้นที่ตำบลปากรออยู่ห่างไกล ๔ หมู่บ้านติดริมทะเลสาบสงขลา มีทั้งหมด ๖ หมู่บ้าน ๒ วัฒนธรรมไทย มุสลิม ๒ วัด ๒ มัสยิด ๒ กุโบร์ มีปลาสามน้ำรสชาติเป็นเล
"ชุมชนเมืองสงขลาวางกติกากลุ่มจัดการขยะเปียกในครัวเรือน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ ที่ทำการกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลา สมาชิกเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ตำบลบ่อยาง โดยมีชุมชนแหลมสนอ่อนเป็นแกนนำวางกติกาหรือธรรมนูญกลุ่มในการอยู่ร่วมกัน มุ่งเน้นการดูแลสมาชิกกลุ่มที่ส่วนใหญ่อาศัยในชุมชนแออัดในเขตเมือง เปิดห้องเรียนชุมชนเรียนรู้การจัดการขยะเปียกในครัวเรือน
"ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ตำบลวัดขนุน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองที่นี่ดำเนินการโดยกลุ่มสตรี โดยร่วมกันระหว่างมูลนิธิชุมชนสงขลา พัฒนาการอำเภอสิงหนคร อบต.วัดขนุน โดยการประสานงานของพัฒนากรประจำตำบล นำกลุ่มสตรี ๘ หมู่บ้านร่วม ๑๐๐ ชีวิตมายกร่างกติกาหรือข้อตกลงในการดูแลสมาชิกที่เป็นสตรีในกลุ่มที่ทั้งช่วยตัวเองได้และช่วยตัวเองไม่ได้ เป็นกลุ่มเปราะบางทางสังคมสมาชิกกองทุนสตรีระดับตำบลมีราว ๘๐ คน สะท้อนปัญหา
ห้องเรียนสวนผักคนเมืองสัญจรประจำเดือนกรกฏาคม ไปเยือนสวนคุณเล็ก-จงกลณี ณ ภูธารวัลเลย์ ซอยเหาตะ;วานิชครูไก่ วุฒิศักดิ์ เพ็ชรมีศรี นำทีมวิทยากรมาร่วมให้ความรู้อย่างสนุกสนาน เป็นกันเอง สมาชิกจากที่ต่างๆร่วม ๔๐ คนมาร่วมอย่างคึกคัก ประกอบด้วยชุมชนและเพื่อนบ้านคุณเล็ก สมาชิกใหม่ที่สนใจมาร่วมเป็นครั้งแรก และสมาชิกเดิมที่เป็นขาประจำครูไก่กล่าวถึงเรื่องพื้นฐานในชีวิตของคนเมือง ที่กินผักโดยไม่รู้ที่มา ไม
"อนาคตของเด็กๆ"หนึ่งในปัญหาสำคัญที่พบของชุมชนแออัดในเขตเมืองก็คือ การศึกษาของเด็กๆที่ออกจากระบบการศึกษา เป็นภาระของย่ายายผู้สูงอายุในการดูแล เด็กๆเหล่านี้โตขึ้นจะเป็นอย่างไรชุมชนหลังอาชีวะ ให้เด็กๆได้มีกิจกรรมร่วมกัน วันนี้เด็กๆนำการแสดงมาต้อนรับทีมแหลมสนอ่อนและมูลนิธิชุมชนสงขลาที่มาให้ความรู้เรื่องการทำสบู่ การเพาะถั่วงอก เด็กๆหลายคนเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม ระหว่างที่ผู้ใหญ่กำลังเรียนรู้ เด็กๆ
"ชุมชนวัดแหลมทราย"ที่นี่เป็นชมชนเก่าแก่ เป็นชุมชนรุ่นแรกเริ่มของสงขลาด้วยซ้ำ มีพื้นฐานความเป็นสังคมเครือญาติ เป็นคนไทยด้วยกันทั้งหมด มีกิจกรรมประเพณีที่ริเริ่มของชุมชน ทั้งงานสงกรานต์ การแห่พระ ต่อมาทางเทศบาลได้รับไปดำเนินการต่อ ชุมชนเองก็มีภูมิปัญญาที่เป็นทุนทางสังคมที่ดี เช่น มีเต้าคั่วรสเลิศที่พลเอกเปรม มาทุกครั้งต้องถามหา มีภูมิปัญญาการเล่นกลองยาว มีเพลงกลองยาวที่รับต่อมาจากกลันตันปัจจุบัน