พาราควอต ละครปาหี่เวทีการเมืองที่คงอีกยาวชมรมแพทย์ชนบทและชมรมผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชนพร้อมใจเคลื่อนเพื่อแบนพาราควอตแล้ว โดยหวังว่าครั้งนี้จะต้องไม่ใช่ปาหี่เก็บคะแนนทางการเมือง่ประชาชนรอมานานที่จะเห็นประเทศไทยเน้นการเกษตรแบบอินทรีย์ รัฐบาลออกมาเต้นตั้งแต่ยุค คสช.ว่าจะแบนหรือยกเลิกการนำเข้าสารพิษทางการเกษตรอาทิพาราควอต แต่ก็แค่ปาหี่ ในยุค คสช.นั้นเข้าใจได้ว่า ไม่มีทางทำได้สำเร็จ เพราะเผด็จการนั
รู้จักความคิดเรื่องการติดโซลาร์เซลล์และการรณรงค์เพื่อสถาปนาพลังงานแสงอาทิตย์ของโรงพยาบาลจะนะต้องดูรายการคนบันดาลไฟชิ้นนี้ครับเราทำมากกว่าติดแผงโซลาร์เพื่อผลิตไฟฟ้าไว้ใช้ครับwww.youtube.com/watch?v=st9iWuMMb4M
โรงพยาบาลพระยุพราชหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ เริ่มเดินเครื่องผลิตไฟด้วยโซลาร์เซลล์ ขนาด 100 กิโลวัตต์แล้วครับนพ.พนา พงศ์ชำนะภัย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งภาพให้ผมด้วยความดีใจ ประมาณว่า "โรงพยาบาลพระยุพราชหล่มเก่าติดโซลาร์เซลล์สำเร็จแล้วนะ" ใช้งบจากกองทุนอนุรักษ์พลังงานครับเพชรบูรณ์อยู่ในพื้นที่แดดจัด หน้าแล้งยาวนาน ผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ได้มากกว่าภาคใต้อย่างโรงพยาบาลจะนะถึง 20% ดังนั้นจากประสบการณ
วณิพก 4.0 แห่งสวนเอสพานาดภาพนี้ผมชอบมาก เมื่อครึ่งเดือนที่ผ่านมาที่ผมไปประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาที่ฟินแลนด์ ภาพนี้เป็นภาพที่ตื่นตาตื่นใจกว่าภาพใดๆ จนต้องเดินไปใกล้ๆ หยิบกล้องมาจับภาพไว้ "วณิพก 4.0 แห่งฟินแลนด์" ขับกล่อมเสียงเพลงอยู่ที่สวนเอสพานาด สวนสาธารณะเล็กๆในย่านหรูกลางกรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ บรรเลงเพลงขับกล่อมด้วยกีต้าร์ไฟฟ้า พร้อมลำโพง โดยมีแผงโซลาร์ 2 แผงเป็นแหล่งผลิตพลังงานสะอาด และพึ่ง
วันนี้ 15 กันยายน 2560 ใกล้เที่ยงคืนผมเริ่มต้นสร้างเพจใหม่ของผมเอง เพื่อรวบรวมข้อเขียนของผมเอง มาลงในเพจ นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ นี้เพื่อการสืบค้นที่ง่ายขึ้น และการติดตามความคิดความอ่านและมุมมองต่อสถานการณ์บ้านเมือง เท่าที่มุมมองคนเล็กๆอย่างผมจะมีทัศนะครับหมอสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ เขียน
"เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่ตื่นตัวในการดูแลสมาชิกในชุมชนด้วยตัวของชุมชนแกนนำในพื้นที่นัดสมาชิกชมรมเพื่อนพึ่งพิง ที่ออกสำรวจข้อมูลและหาทางช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนตามสภาพปัญหา มีทั้งในส่วนของกายอุปกรณ์ การดูแลสุขภาพนัดมาทำความเข้าใจการใช้แอพพลิเคชั่น iMed@home อีกครั้ง รอบนี้นำเสนอให้เห็นทิศทางในภาพใหญ่ที่สามารถดำเนินการได้ ๓ ระดับ ได้แก่๑.ใช้ระบบเ
"๑ จังหวัด ๒ ระบบ"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองด้วยโครงสร้างประเทศที่รวมศูนย์แห่งอำนาจ รัฐบาลกลางคือจุดศูนย์กลางของการปกครอง ส่งต่อฟันเฟืองการบังคับบัญชากระจายลงมายังพื้นที่ภายใต้โครงสร้างเช่นนี้ แม้จะมีส่วนท้องถิ่นที่ทำหน้าที่เป็นเสมือนการใช้ปัญหาและศักยภาพของพื้นที่เป็นฐานมา "ถักทอ" กับโครงสร้างอำนาจแห่งส่วนกลาง แต่ภายใต้แนวคิดการพัฒนาที่มุ่งเน้นการใช้พลังแห่งอำนาจสั่งการณ์ เห็นกลไกเสมือนจักรก
"คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองสงขลาประกอบไปด้วยความหลากหลายทั้งเชิงภูมิประเทศ ผู้คน ศาสนา ภูมิปัญญา อัตลักษณ์ร่วมมีกระจัดกระจาย หลากหลาย ยากจะหาจุดเด่นที่ชี้ขาดสังคมใหม่ก็เช่นกัน หลากหลาย กระจัดกระจาย มีลักษณะเฉพาะ พลังอันมหาศาลถูกส่งต่อกระจายตัว ด้านหนึ่งสามารถรองรับและเปิดพื้นที่ความสนใจตามปัญหาและศักยภาพ แต่อีกด้านก็มีจุดอ่อนในแง่ของการเสนอทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ ถูกผูกติด
"๑๐ ปีมูลนิธิชุมชนสงขลา : วันพลเมืองสงขลา ปี ๖๒"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรือง"เราทำงานร่วมกับรัฐแต่ไม่พึ่งรัฐ" หลักคิดสำคัญที่นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ เน้นย้ำ ผ่าน Songkhla talk แม้หมวกที่สวมอยู่จะสังกัดภาครัฐก็ตามด้วยเข้าใจข้อจำกัดที่มี เมื่อเท่าทันจึงทำให้มองข้ามและลงมือแปรความคิดไปสู่การกระทำด้วยพลังของพลเมือง ด้วยทัศนะเช่นนี้ทำให้หมอระดมทุนติดตั้งโซลาเซลบนหลังคารพ.จะนะสำเร็จได้ในเวลาเพียง ๕ วัน
เรื่องเล่าจากเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ตำบลบ่อยางเสาร์ที่ 3 ของเดือน ชุมชนหัวป้อม 1 กับหัวป้อม 5 มีนัดมาเรียนห้องเรียนชุมชนวันนี้ร่วมกันผลิตน้ำยาปรับผ้านุ่ม โดยมีป้าอิ๊ดกับป้าปราณี จากแหลมสนอ่อนเป็นผู้สาธิตและแนะนำขั้นตอนการผลิตในส่วนของเด็กๆเกือบ 20 คน วันนี้มาแจ้งว่า อยากเรียนรำมโนราห์ อยากมีทีมปั่นจักรยาน และอยากเรียนวาดรูปนอกจากนี้มีกิจกรรมพิเศษคือ พี่กอแก้ว ทีมงานวิจัยจากม.ทักษิณ มาเก็บข้