คำนึง นวลมณีย์ ครูของนักปลูกผักทำสวนเป็นคนทำสวน ปลูกผัก ที่ทุ่มเท ใช้ชีวิตเพื่อฝึกฝนเรียนรู้การพัฒนาเกษตรเพื่อชุมชนพัฒนาความรู้แบบนักวิจัย คือ ทดลอง คิดค้น ทำแล้วเก็บข้อมูล ถ่ายทอดได้ สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ทำให้การเกษตรเป็นวิชาชีพที่สามารถพัฒนารายได้ไปพร้อม ๆ กับความสุขติดต่อครูคำนึง 089-4654540 ช่วงเวลาที่สะดวกเย็นย่ำ ช่วงกลางวันครูจะลงสวนไม่ค่อยได้รับโทรศัพท์
"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองเดือนสิงหาคม"รอบนี้มาเยือนสวนผักชุมชนสุภาพอ่อนหวานของป้าแจ้วลุงดวง ป้าแจ้วดำเนินการในฐานะสะใภ้มาเป็นประธานชุมชน ลุงดวงนำดินจากสวนนอกเมืองเข้ามาปลูกไม้ผล พืชผักนานาชนิด ค่อยๆเติมใส่จนเต็มพื้นที่ เดินระบบน้ำด้วยจักรยานน้ำดึงน้ำมาพักแล้วปล่อยไปตามท่อสวนผักแห่งนี้เป็นอีกจุดเรียนรู้ ทั้งในเรื่องการจัดการขยะ ปลูกมะนาวในกระถางหลากพันธุ์ เช่น ทูลเกล้า พิจิตร การนำขยะมาใช้ในการปล
"ธรรมนูญอบต.เทพา"อีกหนึ่งใน ๒๒ ตำบลของสงขลาที่เข้าสู่กระบวนการจัดทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่ นั่นคือ อบต.เทพา อำเภอเทพาที่นี่เป็นชุมชนมุสลิมเกือบร้อยเปอร์เซ็น มี ๘ หมู่บ้านกว่า ๒.๕ พันครัวเรือน ผู้คนอัธยาศัยดี เป็นมิตร อารมณ์ดี มีไก่ทอดเทพากับกะปิเทพาเป็นสินค้าเด่นมีชื่อระดับประเทศจุดเน้นของที่นี่ก็คือการจัดการขยะที่มีทั้งขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะมีพิษ จัดการตั้งแต่ต้นทาง(ครัวเรือน ตลาด เซ
"ประกาศใช้ธรรมนูญตำบลแค"อีกหนึ่งตำบลที่เข้าสู่ขั้นตอนการประกาศใช้ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ นั่นคือตำบลแค อำเภอจะนะแม้จะไม่ตอบโจทย์ ๑๗ เป้าหมาย แต่เลือกที่จะนำร่องประเด็นสำคัญได้แก่ การจัดการขยะ โดยต่อยอดจากธรรมนูญหมู่บ้านที่ทำนำร่องมาก่อนหน้า โดยมีแกนนำสำคัญคือครูหมัด นายก และกำนันจัดเป็นพื้นที่ที่มีความร่่วมมือที่ดี ฐานแข็งแรงเช่นนี้ต่อยอดอะไรก็ได้ โดยธรรมนูญตำบลมี ๓ หมวดสำคัญ ได้แก่ ๑)หมวดบริหารจ
"กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี"กองทุนนี้เกิดขึ้นในรัฐบาลทักษิณ ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ช่วงแรกถูกเชื่อว่าเป็นเงินทักษิณทำให้เกิดความเชื่อผิดๆ นำไปใช้โดยไม่ส่งคืน หรือมีการรีบอนุมัติโดยไม่คำนึงถึงคุณภาพของกลุ่มสตรีหรือกิจกรรมที่ขอไปดำเนินการ ที่มี ๒ ลักษณะคือ เป็นเงินอุดหนุนสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรสตรี กับเงินกู้หมุนเวียน(ไม่เกิน ๒ แสนบาทต่อครั้ง/กลุ่ม)ส่งผลมาถึงปัจจุบันทำให้เกิดโครงการที่มีหนี้ค้างชำระอีกจำน
วันที่ 22 สิงหาคม 2562ช่วงเช้าทีมมูลนิธิชุมชนสงขลาโดยคุณชิต สง่ากุลพงศ์ อ.พิชัย ศรีใส คุณพิชัย สุธาประดิษฐ์และพิชยา แก้วขาว ยกทีมไปประชุมกับผอ.นิยม ชูชื่นในการจะจัดทำหลักสูตรร่วมกันในการขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็งให้เป็นรูปธรรม โดยมีคุณหมอสุวัฒน์ ผอ.โรงพยาบาลนาทวี เข้าร่วม คุณหมอเล่าถึงเรื่องหลักสูตรการสร้างแพทย์โดยเอาไปเรียนรู้อยู่ร่วมชุมชน เลิกมองหาปัญหา มองมุมดีๆเชิงบวกได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างม
เปิดหน้าต่อสาธารณะ ในฐานะที่อยู่เบื้องหลังทำงานเพื่อสาธารณะมายาวนาน วิศวกรที่ปิดทองหลังพระเพื่อชุมชนเช่นนี้หายากยิ่งคุณหมี-ภาณุมาศ นนทพันธ์ โปรแกรมเมอร์อิสระ เป็นคนแรกๆที่เริ่มต้นงานเว็บไซต์ในสงขลา และทำงานอยู่ในแวดวงคอมพิวเตอร์มายาวนาน อยู่เบื้องหลังงานด้านสังคมในหลายองค์กร ปัจจุบันเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมการเตือนภัยน้ำท่วมหาดใหญ่ผ่านเว็บไซต์ www.hatyaicityclimate.org อยู่เบื้องหลังการแก้ปัญห
"ห้องเรียนชุมชนหัวป้อม"อีกครั้งสำหรับห้องเรียนชุมชน หนึ่งในกติกาชุมชนเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ตำบลบ่อยางทำกิจกรรมรูปธรรมไปด้วยเพื่อสร้างความไว้วางใจ ควบคู่กับการค้นหาแกนนำที่สนใจ ตื่นตัว กิจกรรมจะคัดกรองสมาชิกของกลุ่มที่ให้ความใส่ใจ พร้อมเรียนรู้ ปัญญาปฎิบัติที่มาอย่างต่อเนื่องจะสะสมคุณภาพใหม่มีหน้าใหม่มาหลายคน จำนวนหนึ่งเริ่มคุ้นเคย กล้าพูด กล้าแสดงออก กลุ่มเหล่านี้จะนั่งแถวหน้า ส่วนคนใหม่ หร
"ชุมชนหลังอาชีวะ"วันนี้ (18 สิงหาคม 2562) ชวนเครือข่ายภาคเอกชนมาสังเกตการณ์ และได้รับการประสานจากเอกชนอีกชุดหนึ่งว่าต้องการมาทำกิจกรรม เลยเสนอเรื่องการสนับสนุนห้องเรียนในชุมชนที่จะมี ๒ ลักษณะ๑.ห้องเรียนสำหรับเด็ก แยกย่อยเป็น ๓ รูปแบบได้แก่ ๑)สำหรับเด็กเล็กและผู้ใหญ่ที่ต้องการอ่านออกเขียนได้จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยชุมชนหัวป้อม ๒) ห้องเรียนตามความสนใจจัดเป็นหลักสูตรระยะสั้น ได้แก่ ดนตรี
วันที่ 23 สิงหาคม 2562 มีโอกาสเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดแนวทางการจัดการขยะของจังหวัดสงขลาอย่างเป็นรูปธรรม ณ ห้องประชุมคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งจัดโดยสนง.สิ่งแวดล้อมจังหวัดสงขลา ในนามของหน่วยงาน จิตอาสานอกราชการสาระสำคัญของการประชุม มีดังนี้๑. อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บรรยยายพิเศษ หัวข้อ " การจัดการขยะของมหาวิทยาลัย "๒. ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ได้ก