1047 items|« First « Prev 74 75 (76/105) 77 78 Next » Last »|
Submitted by punyha on 27 ก.พ. 63 21:54

ประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัด จังหวัดสงขลา ครั้งที่ ๔/๒๕๖๓มีเรื่องสำคัญๆ ตามนี้ครับ๑. ส่วนกลางออกหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการพิจารณาการลดหรืองดเบี้ยปรับตามสัญญาเงินของกองทุนฯให้กับลูกหนี้ที่มีเจตนาชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงินฯที่ประสบปัญหาทางด้านการเงิน (ลูกหนี้ที่ประสงค์ขอใช้สิทธิ์ติดต่อพัฒนาการแต่ละอำเภอนะครับ)๒.สมาชิกกองทุนฯ ประเภทบุคคลธรรมดา ข้อมูล ณ ๑๔ กพ.๖๓

Submitted by punyha on 26 ก.พ. 63 16:46

"เมืองสตูล"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองฝั่งลุ่มน้ำมำบัง มีทม.สตูลเป็นพี่ใหญ่ ที่นี่รองรับปัญหาขยะที่มาจากต้นน้ำผ่านมาทางเมืองรวมถึงน้ำจากต้นน้ำอีกด้วย การจัดการขยะเป็นปัญหาใหญ่อันเนื่องจากที่ฝังกลบใกล้เต็ม ซึ่งก็เป็นปัญหาหลักของท้องถิ่นในปัจจุบัน ขณะที่ทางเลือกในรูปแบบโครงการขนาดใหญ่เช่นนำขยะไปแปลงเป็นพลังงานก็ถูกต่อต้าน โครงการจำพวกสร้างสำนึกและเปลี่ยนพฤติกรรมก็ทำได้ยาก ทางน้ำเดิมก็ถูกทำลาย เปลี

Submitted by punyha on 26 ก.พ. 63 09:26

"เมืองปาดังเบซาร์"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองปาดังแปลว่าทุ่งใหญ่ มีอาณาเขตติดกับมาเลเซียจัดเป็น "เมืองชายแดน" ที่มีบริบทเฉพาะตัว มีความเป็นพหุวัฒนธรรม กล่าวคือ มีทั้งไทย จีน มุสลิม ประกอบด้วย ๒ อปท.ในส่วนของทม.ปาดังเบซาร์มีพื้นที่ ๑๑.๒๒ ตารางกิโลเมตร ประชากรไม่มากนัก ด้วยเป็นเมืองปิด ผู้คนทำมาค้าขายเป็นหลัก อดีตเคยรุ่งเรืองจากการขนของหนีภาษี แต่ปัจจุบันอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน คนจีนจำนวนหนึ่งหลัง

Submitted by punyha on 26 ก.พ. 63 09:17

"เมืองพะตง"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองพื้นที่นโยบายระดับเมือง มีตั้งแต่เมืองใหญ่ระดับจังหวัด เช่น เมืองขอนแก่น ภูเก็ต แล้วก็มีเมืองขนาดเล็ก ขนาดกลาง มีได้หลายระดับ สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป มิได้มีแต่พื้นที่ตามขอบเขตการปกครองของมหาดไทย ด้วยสภาพปัญหาที่มากระทบหรือศักยภาพของพื้นที่ มีได้หลากหลาย"เมืองพะตง" รวมหมายถึงทต.พะตงและอบต.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่แห่งนี้ยังมีทั้งห

Submitted by punyha on 25 ก.พ. 63 19:49

"หลักสูตรนานาชาติ"วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ โครงการฝึกภาคสนามในต่างประเทศ หลักสูตรศิลปศาสตร์ สาขาการพัฒนาระหว่างประเทศ ม.จุฬา นำนักศึกษาต่างชาติ ป.โท ป.เอก จำนวน๒๑ ชีวิต จากเยอรมัน เกาหลี ญี่ปุ่น พม่า เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย มาดูงานมูลนิธิชุมชนสงขลา ร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมของพื้นที่ จ.สงขลา โดยมีคุณชิต ประธานมูลนิธิชุมชนสงขลามาต้อนรับและคุณสมพรมาร่วมนำเสนอ

Submitted by punyha on 19 ก.พ. 63 21:25

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ดำเนินงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อการเปลี่ยนแปลงเมือง(Strengthening urban climate governance for inclusive, resilient and sustainable societies in Thailand) หรือเรียกง่ายๆว่า โครงการSUCCESS ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรปวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ นัดประชุมสร้างความร่วมมือกับนักวิชาการใน ๖ สถาบันหลักของภาคใต้๑.แนะนำโครงการ ที่มุ่งเน้นการดำ

Submitted by punyha on 12 ก.พ. 63 21:19

มูลนิธิชุมชนสงขลา พัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายตำบลภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ร่วมนำเสนอแนวทางกิจกรรมที่จะต่อยอดงานธรรมนูญตำบลน่าอยู่ตอบสนองเป้าหมายวิสัยทัศน์สงขลา ๒๕๗๐ ดังนี้๑)ด้านสังคมเป็นสุข-ทต.ท่าช้าง ตั้งใจทำเรื่องธนาคารเวลา เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง และประสบปัญหาสุขภาพจิตไม่สามารถอยู่ร่วมในสังคม โดยให้

Submitted by punyha on 27 ม.ค. 63 13:51

"สวนป้าเถี้ยน"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองหาดใหญ่สัญจรประจำเดือนมกราคม จัดทัวร์สุขภาพลงเยี่ยมแปลงสวนป้าเถี่ยน ม.๙ ต.คูเต่า สมาชิกเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา เป็นอีกหนึ่งแปลงที่ได้รับใบรับรอง SGS-PGSป้าเถี้ยนและไก่-ลูกชาย เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์คูเต่า รวมตัวกันปลูกผักอินทรีย์มาหลายปี ปู-วัลลภแกนนำเล่าว่าต.คูเต่าอยู่ปลายน้ำของลุ่มน้ำอู่ตะเภา ที่มีอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร ผัก ผลไม้(ส้มโอ อ้อ

Submitted by punyha on 23 ม.ค. 63 11:55

"จากตลาดกรีนโซนไปสู่ south story ของดีชายแดนใต้และกรีนสมาย"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองกว่า ๒ ปีที่ตลาดกรีนเวย์ บริษัทประชารัฐฯสงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา เครือข่ายเกษตรอินทรีย์สงขลา พัฒนาชุมชน เกษตรและสหกรณ์ และเครือข่ายอีกจำนวนมากที่ไม่อาจเอ่ยถึงได้หมด ร่วมกันเปิดตลาดกรีนโซน@กรีนเวย์ หวังเป็นช่องทางสนับสนุนเกษตรกรให้มีพื้นที่จำหน่ายผลผลิตดีๆ และผู้บริโภคในเมืองมีทางเลือกมากขึ้น แล้วก็ถึงวันของการเป

Submitted by punyha on 23 ม.ค. 63 11:50

"วิจัยและสร้างนวัตกรรมพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองอีกความเคลื่อนไหวทางสายวิชาการที่ถูกปรับการทำงานให้แตกต่างจากเดิมสำนักวิจัยและพัฒนา มอ.ชวนไปร่วมเสนอแนะการทำกรอบงานวิจัย ตามโจทย์ใน Platform ๔ "วิจัยและสร้างนวัตกรรมพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ" โปรแกรม ๑๓ : นวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม โดยมอ.แต่ละวิทยาเขตเป็นเจ้าภาพร่วมกับเครือข่ายต่างๆ

1047 items|« First « Prev 74 75 (76/105) 77 78 Next » Last »|
personมุมสมาชิก

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน.

เครือข่าย

เครือข่ายมูลนิธิชุมชน