
กิจกรรม 1.2 ของโครงการ SUCCESS พื้นที่ภาคใต้วันที่ ๒๒ - ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๓รอบนี้มาพัทลุง ณ วังวาดี มีพื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 6 แห่ง ได้แก่ เมืองบ่อยาง(ทน.สงขลา) เมืองปาดังเบซาร์ (ทม.ปาดังเบซาร์) เมืองพะตง(ทต.พะตง) เมืองควนลัง(ทม.ควนลัง) จ.สงขลา เมืองควนขนุน(ทต.โตนดด้วน) จ.พัทลุงเมืองละงู(ทต.กำแพง)จ.สตูล โดยการสนับสนุนของสหภาพยุโรป ผ่านมาทางสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และมีมูลนิธิชุมชนสงขลาเป็นเครือข่ายห

การจัดเวทีสาธารณะในงานวันพลเมืองสงขลาปีนี้ ด้วยข้อจำกัดเรื่องสถานการณ์โควิด จึงจำกัดผู้เข้าร่วมไว้ ๑๕๐ คน แต่สุดท้ายยอดคนมาร่วมก็มีถึง ๒๓๔ คน เป็นองค์กรภาครัฐ ๑๙ องค์กร ภาคประชาสังคม เอกชน ชุมชน วิชาการ ๔๔ องค์กร เครือข่ายตำบลน่าอยู่และท้องถิ่นอีก ๑๘ องค์กรรูปแบบการจัดงาน จะมีทั้งกิจกรรมนำเสนอผลการดำเนินงานของภาคีทั้งในรูปแบบคลิป VDO หนังสือเล่ม(ผีเสื้อขยับปีก เล่ม ๘) นิทรรศการ และมีการเสวนาจุดป

"ร่วมฟื้นฟูสาย ๑ หาดใหญ่"ต่อยอดมุมมองความเป็นเมืองอาหารของหาดใหญ่ วิทยาลัยรัตภูมิ มทร.ศรีวิชัย ร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ทน.หาดใหญ่ สมาพันธุ์เอสเอ็มอีไทย จ.สงขลา และเครือข่าย ประสานชุมชน ร้านค้า สื่อ ผู้ทรงคุณวุฒิ มาร่วมให้ข้อเสนอแนะต่องานวิจัยในชุดงานฟื้นฟูเศรษฐกิจเมืองหาดใหญ่ หลังงานฉื่อฉางสตรีทฟู๊ดสิ้นสุดลง วันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ ร้านหาดใหญ่ติ่มซำที่ตกแต่งอย่างสวยงามกลับมา Rebranding ส

ความไว้วางใจเป็นพื้นฐานการทำงานในรูปแบบเครือข่าย และกระบวนการสร้างความเป็นเจ้าของร่วม ที่ใช้ทั้งสมอง(ความรู้/ปัญญา) และหัวใจ(ความเป็นมนุษย์) เป็นเสมือนสนามพลัง(Platform) ที่จะเอื้อให้ทุกฝ่ายที่เข้ามาร่วมบนฐานประโยชน์สาธารณะได้เติบโต มีอิสระ และแสดงศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่งบประมาณที่ไม่เพียงพอหาใช่อุปสรรคใหญ่ บ่อยครั้งกลายเป็นข้อจำกัดในตัวเองด้วยซ้ำหากมีงบมาก ด้วยเหตุจะมุ่งเดินไปสู่เป้าหมาย

"ภาคีเครือข่ายภาคพลเมืองสงขลาชู Songkhla Wallet พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ"หนึ่งในประเด็นสำคัญของงานวันพลเมือง ชู Songkhla Wallet หรือ "ถุงเงินสงขลา" เป็นเครื่องมือทางการเงินไม่ให้เงินบาทไหลออกจากต่างชาติ สร้างความเข็มแข็งให้กับสินค้า ร้านค้า ผู้ประกอบการในท้องถิ่น คนสงขลาใช้เงินสงขลา หาพื้นที่นำร่องดำเนินการ เป็น Sand box เริ่มจากผู้รับเงินเป็นกลุ่มชัดเจน มีความหนาแน่น เช่น พื้นที่เมืองเก่าสงขล

ถอดบทเรียนสู่ปีที่ ๑๑ การทำงานมูลนิธิชุมชนสงขลาชาคริต โภชะเรือง เขียนหลายปีมานี้ผมมีโอกาสทำงานกับเครือข่ายและผู้คนมากหน้าจริงๆ นับแต่งานของมูลนิธิชุมชนสงขลา ก็มีทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ภาครัฐ ทำงานด้วยกันปีนี้ก็เข้าสู่ปีที่ ๑๑ แล้วในส่วนงานของเครือข่ายสังคมระดับจังหวัดก็มีทั้งเครือข่ายเชิงประเด็น เชิงพื้นที่ เชิงองค์กร ที่มีวัฒนธรรมการทำงาน ความคิด ความเชื่อที่แตกต่าง ทั้งเชิงอำนาจ เชิงแนว

วันนี้ (๘ กันยายน ๒๕๖๓) เทศบาลตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง นำโดยนายกเทศมนตรี ได้นำกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผอ.รพ.สต.โคกม่วง พยาบาล จนท.เทศบาล อสม. อถล. ครูศพด. และประชาชน เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโครงการหมู่บ้านสุขภาวะ เทศบาลตำบลโคกม่วงครับกิจกรรมการเรียนวันนี้มีดังนี้ครับภาคเช้า๑.เยี่ยมชมสวน ศึกษารูปแบบการปลูกพืชผักแบบต่างๆ๒.สนทนาแลกเปลี่ยนวิธีปลูกผักปลอดภัย และการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย

"ประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง"อีกหนึ่งภาคีที่มาช่วยกลุ่มเปราะบางทางสังคม๔-๖ ก.ย. ๖๓เริ่มกิจกรรม ๑.๑ ของโครงการ SUCCESS พื้นที่ภาคใต้(สงขลา สตูล พัทลุง) ภายใต้การสนับสนุุนของสหภาพยุโรป โดยมีสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย(TEI)เป็นผู้รับผิดชอบหลัก และมีมูลนิธิชุมชนสงขลาเป็นเครือข่ายร่วมดำเนินการกับภาคประชาสังคมในพื้นที่ ณ บูมฟอร์เรสรีสอร์ท อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา๑.เรียนรู้ความหมายของเมือง ขอบ

วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนย์บริบาลผู้สูงอายุ อบจ.สงขลาเครือข่าย ๔PW หรือสมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา ร่วมกับ กขป.เขต ๑๒ มูลนิธิชุมชนสงขลา และภาคีเครือข่ายจัดประชุมเชิงปฎิบัติการสานพลังเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางทางสังคม จ.สงขลาเป็นหนึ่งในกิจกรรมขับเคลื่อนการพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมยุทธศาสตร์การสร้างสังคมเป็นสุข: การดูแลคุณภาพชีวิตกลุ่มคนยากลำบากและเปราะบางทาง

เยาวชนบ้านห้วยเต่า ต.คูหา อ.สะบ้าย้อย รวมตัวกันด้วยเจตนาเพื่อป้องกันปัญหายาเสพติดในหมู่เยาวชนด้วยกัน อาศัยเวลาว่างจากภาระงานมาร่วมกันทำกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านด้วยแรงกาย แรงใจของตน และได้รับการสนับสนุนจากผู้ใหญ่ใจดี สร้างความเข้มแข็งมากขึ้นรอบนี้อบต.คูหานำเยาวชนมาพักแรมที่ล่องแก่งชมดาว พัทลุง สานพลังความร่วมมือโดยนำผู้เฒ่าในพื้นที่มาร่วมแลกเปลี่ยน ผมเองเข้าไปช่วยให้กลุ่มเยาวชนร่วม ๓๐ ชีวิตได้ถอดตัวเ