
iMed@home คือแอพพลิเคชั่น จัดทำระบบข้อมูลกลางช่วยสนับสนุนการทำงานดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มเปราะบางทางสังคม อย่างมีส่วนร่วม พัฒนาโดยมูลนิธิชุมชนสงขลาและโปรแกรมเมอร์ภาณุมาศ นนทพันธ์ โดยงบประมาณจากรัฐบาลผ่านมาทางสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)เมื่อปี 2560 และความร่วมมือผ่านการ MOU ร่วมกันระหว่างกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา อบจ.สงขลา พมจ.สงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา ฯลฯ รวม 11องค์กรความร่วมมือ

ช่วงเย็นของวันพุธที่ 8 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนแหลมสนอ่อน 21/27 ถนนแหลมสนอ่อนอาจารย์เทพรัตน์ จันทพันธ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และ คุณชาญวิทูร สุขสว่างไกร สมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนสงขลาได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้กับตัวแทนชุมชนแหลมสนอ่อน ชุมชนพัฒนาใหม่ ชุมชนชัยมงคล ชุมชนศาลาเหลืองเหนือ ชุมชนสนามบินและชุมชนพานิชย์สำโรง เทศบาลนครสงขลาเพื่อร่วมกันค้นหาศักยภาพที่ค

"SUCCESS พบที่ปรึกษา"ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย จัดเวทีนำเสนอผลการศึกษาการประเมินความเปราะบางของเมืองในโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง SUCCESS ให้กับที่ปรึกษา ประกอบด้วย ดร.จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์ ศ.สุริชัย หวันแก้ว ผศ.ดร.ยรรยงค์ อินทร์ม่วง ให้ข้อเสนอแนะพี่เลี่ยงภาคอิสาน CSNM รศ.บัวพันธ์ พรหมพักพิง และ SCF ในส่วนภาคใต้ นำเสนอสาระสำคัญของสิ่งที่ค้นพบในพื้นที่ 12 เมือ

"iGreen Smile ตอนที่ 4"ทีมงานหลักๆของเราประกอบด้วย ปลาจากเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัด หมีและผมจากมูลนิธิชุมชนสงขลา โดยมีผู้ช่วยอีกมากหน้า ได้แก่ กรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ครูไก่-วุฒิศักดิ์ พี่เป็ด พี่กำราบ อ.ปรึกษาโครงการ อ.นิคม จากคณะวิศวะ ม.อ.ในช่วงการเตรียมพร้อมนำเสนอ มีไอซ์ทีม NIA ส่วนกลาง น้องโบว์ หนูดีและผู้ทรงคุณวุฒิอีกหลายท่าน ช่วยทำให้แนวคิดโครงการกระชับอยู่ในร่องรอยและเป็นจริงได้มากขึ้

"iGeen Smile" ตอนที่ 3มาถึงส่วนสำคัญที่สุด นั่นคือ การเขียนโครงการ น้องโบว์ทีมพี่เลี้ยงบอกเราในภายหลังว่า ทีมเราถือว่าเป็น "ม้ามืด" ที่ไม่คิดว่าจะเข้าขบวนจนสามารถขอการสนับสนุนได้หัวใจการเขียนข้อเสนอโครงการ ประกอบด้วย 5 ส่วนสำคัญที่ชวนสมองบวม คือข้อมูลทั่วไป มี 4 หัวข้อย่อย1.บทสรุปผู้บริหาร(ชื่อโครงการ/ภาพรวมโครงการ)2.ข้อมูลผู้เสนอโครงการ3.ข้อมูลนิติบุคคล4.วัตถุประสงค์ของโครงการ

"iGeen Smile" ตอนที่ 2ครั้นตัดสินใจเดินหน้าต่อ สำคัญที่สุดต้องเลือกว่าจะเลือกเดินอย่างไร แนวคิดเดิมที่ต้องการต่อยอดงานเกษตรอินทรีย์ ทว่าผู้ผลิตมีน้อยเกินไป จึงนำบทเรียนการส่งผักมาตรฐานGAPเข้าสู่โรงครัวรพ.หาดใหญ่มาต่อยอด ด้วยการใช้แนวคิด "ตลาดล่วงหน้านำการผลิต" บวกกับโอกาสเชิงนโยบายที่ทำงานกับคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 12 ที่ต้องการขยายผลเรื่องนี้ไปในทุกจังหวัด และเรามีฐานเครือข่าย

"iGreen Smile"ตั้งใจบันทึกเบื้องหน้าเบื้องหลังการได้มาของ Platform จัดส่งวัตถุดิบอาหารปลอดภัยสู่ครัวโรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร ฯลฯ เอาไว้เวอร์ชั่นแรกใกล้แล้วเสร็จ พร้อมนำให้คู่ค้าที่จะร่วมมือกันได้ใช้ในเร็วๆนี้ตอนที่ 1ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา มูลนิธิชุมชนสงขลาได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานนวตกรรมแห่งชาติ(NIA) ภายใต้โครงการนวตกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้เริ่มต้นจากการพัฒนา application Gr

เครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ขอแจ้งกิจกรรมของวันที่ 7 มิถุนายน 2565เวลา 09.00 -11.30 น. เรียนแอพลิง แนะนำโดย คุณสุวิทย์สถานที่ ที่ทำการเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ถนนแหลมสนอ่อนพักรับประทานอาหารกลางวันเวลา 13.00 - 16.00 น. เรียนแอพ iMed@ home แนะนำโดย ทีมงานมูลนิธิชุมชนสงขลาสถานที่ ห้องประชุมชั้น 2 ณ ที่ว่าการอำเภอเมืองสงขลาสรุปการจีัดกิจกรรมวันอังคารที่ 7 

เช้าวันที่ 3 มิถุนายน 2565วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระราชินี ในรัชกาลที่ 10ชาวชุมชนแหลมสนอ่อนพร้อมด้วยชุมชนเครือข่าย ชุมชนสนามบิน และชุมชนศาลาเหลืองเหนือ ได้ร่วมใจกันพัฒนาพื้นที่ชุมชนบริเวณที่ทำการกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อนผู้สูงวัยเดินไม่ไหวยังมานั่งเป็นกำลังใจและหิ้วปิ่นโตมาฝาก#ชุมชนแหลมสนอ่อน#ชุมชนสนามบิน#ชุมชนศาลาเหลืองเหนือบุณย์บังอร ชนะโชติ รายงาน

ร่วมแรงเปลี่ยนแปลงเมืองโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (Success) ได้รับความสนับสนุนจากสหภาพยุโรป(EU) เพื่อขับเคลื่อนขบวนภาคประชาสังคมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการทำงานผ่านมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ (CSNM) และมูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF)พื้นที่เป้าหมายในพื้นที่ภาคใต้และภาคอีสาน ภาคใต้ ๖ เมือง และภาคอีสาน ๖ เมื