โครงการปลูกผักยกแคร่ในโรงเรือนเกาะสะบ้าโมเดลเพื่อขับเคลื่อนสุขภาพชุมชนบริโภคอาหารปลอดภัย และเศรษฐกิจพอเพียงปลูกผักกินเองและพัฒนาเป็นเศรษฐกิจชุมชนทำมาค้าขายกับชุมชนเมืองที่ต้องพึ่งพาอาหารปลอดภัยจากชนบทหมู่บ้านตำบลเผิน จันทรจิตร รายงาน
"เครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา"วันที่ 28 เมษายน 2565 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.) นัดหมายทีมเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา 13 ชุมชน ประกอบด้วยชุมชนแหลมสนอ่อน/สนามบิน/พัฒนาใหม่/หลังจิตเวช/ศาลาเหลืองเหนือ/วัดไทรงาม/มัสยิดบ้านบน/ภราดร/กุโบร์/ศาลาหัวยาง/บาลาเซาะห์/เก้าเส้งและนอกสวน ร่วมประชุมเพื่อกำหนดแนวทางดำเนินงานในการแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยและคุณภาพชีวิตชุมชน พร้อมติดตามงานที่สนับสนุนงบประมาณไปเมื่อปี 2
23 เม.ย. 65ตอนนี้ชีวิตประจำวันส่วนตัวของพี่อ้น ไม่ต้องทำอะไรมาก แค่รอตอบคำถามและสร้างความมั่นใจให้แก่ชาวชุมชนว่า ระหว่างนี้ให้รอการพิจารณาของคณะกรรมการฯที่จังหวัดตั้งขึ้นก่อน ก็น่าจะอีกหลายวัน ตอบเสร็จและยืนยันแล้วว่า ยังมึเวลาทึ่จะคิดหาหนทาง หนทางที่เป็นทางออกทึ่ดึกับทุกฝ่าย แยกย้ายกันไปได้สักพัก ไปฟังข่าวลือ และข่าวจากแหล่งต่างๆกันมา สักพักก็ยกพวกยกทีมกันมาว่า จะเชื่อมั่นในหนังสือที่ยิ่น
"เตรียมเดินหน้าเสริมหนุน 10 ชุมชนเปราะบางเมืองหาดใหญ่"วันที่ 26 เมษายน 2565 หลังจาก MOUกันไปเมื่อ 28 มีค.ที่ผ่านมา ภาคีเครือข่าย 4 หน่วยงานความร่วมมือประกอบด้วย เทศบาลนครหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มูลนิธิชุมชนสงขลา และสมาคมอาสาสร้างสุขประชุมร่วมกันเพื่อกำหนดแนวทางการประสานการทำงาน มีข้อสรุปสำคัญๆ1.จัดตั้งคณะทำงานเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนงาน ร่วมกำหนดเป้าหมาย 3 ปี
เช้าวันนี้ (19 เมษายน 2565) ในฐานะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาล กรรมการหอการค้าสงขลาฝ่ายส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาสังคม ร่วมกับคุณชิต สง่ากุลพงศ์ ประธานมูลนิธิชุมชนสงขลาได้ร่วมเป็นสักขีพยานในการลงนาม MOU ระหว่างเทศบาลนครหาดใหญ่กับโรงพยาบาลหาดใหญ่มีรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข , สาธารณสุขสงขลา และผู้ตรวจกระทรวงสาธารณสุข ร่วมพิธีกับผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ ในการใช้สถานที่ของเทศบาลมาใช้ร่วมกันกับโร
"SUCCESS เมืองพะตง"วันที่ 18 เมษายน 2565 คณะทำงานSUCCESS เมืองพะตง นัดตัวแทนชุมชนบ้านหลบมุม ประกอบด้วยผู้สูงอายุ เกษตรกร แม่เลี้ยงเดี่ยว เด็กและเยาวชน ผู้ประกอบการ ทต.พะตง มาร่วมให้ข้อเสนอแนะข้อมูลเพิ่มเติมในกิจกรรม 1.3 ประเมินความเปราะบางของเมืองพะตง ณ รร.วัดทุ่งลุงมิตรภาพเมืองพะตงมีลักษณะพิเศษตรงที่ เป็นชุมชนที่มีทั้งฐานเกษตรและคนดั้งเดิมซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ มีสถานประกอบการ
(1) ครัวชุมชนกับการจัดหาคู่ครัวปิ่นโตตุ้มตุ้ย แหลมสนอ่อน ในฐานะครัวชุมชนรุ่นพี่ของเมืองบ่อยางร่วมคิดกับครัวชุมชนที่จะเปิดใหม่อีกประมาณ 5 ชุมชนเพื่อซักซ้อมเตรียมความพร้อม ครัวน้องใหม่ทั้งหลายต่างยืนยันว่า ชุมชนของตน มีต้นทุนดีและพร้อมคืออุปกรณ์เครื่องใช้ในครัว ราคาหลักหมื่น พร้อมที่จะประกอบการทันทีช่วงปี 2555 โครงการหมู่บ้าน SML สนับสนุนสร้างทุนให้ชุมชนโดยจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นหล
วันที่ 9 เมษายน 2565 ทีม SUCCESS เมืองบ่อยาง ช่วยกันตรวจสอบเอกสารการเงินของเดือนมีนาคม 2565 และมีการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการทำงานภายในชุมชนของ 4 ชุมชน (แหลมสนอ่อน สนามบิน พัฒนาใหม่และศาลาเหลืองเหนือ) สนทนากลุ่มย่อย ทำให้เห็นพื้นฐานและคุณลักษณะที่แตกต่างกันของทั้ง 4 ชุมชนดังกล่าวในการนี้ สมาคมผู้สูงอายุฯโดยพี่ไพรัชและพี่เรณูได้กล่าวถึงงานที่จะมาทำร่วมกันโดยการก่อตั้งชมรมผู้สูงอายุ
วันที่ 12 เม.ย 65โครงการประชาร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง ควนลัง (success ควนลัง) ได้นำข้อสรุปจากการลงพื้นที่เพื่อประเมินความเปราะบาง ของชุมชนทุ่งเขียวหวาน และคลองต่ำพฤกษชาติ ในการรับมือกับภาวะภัยแล้งและอุณหภูมิที่สูงขึ้นโดยนำเอาปัญหา สาเหตุ และข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานชลประทานที่ 16 มานำเสนอ เพื่อร่วมกันวางแนวทาง ในการ แก้ไขปัญหาโดยการประสานงาน กับสำนักงานชลประทานที่ 16&n
"กิจกรรม 1.3 ของSUCCESS เมืองพะตงและเมืองปาดังเบซาร์"เพื่อเลี่ยงการแพร่เชื้อโควิด เลยประชุมผ่าน Zoom กับทีมคณะทำงาน 2 เมือง7 เมษายน 2565เช้า คุยกับทีมเมืองพะตง ที่นี่เก็บข้อมูลประเมินความเปราะบางในชุมชนบ้านหลบมุมที่มีทั้งผู้สูงอายุ แม่เลี้ยงเดี่ยว คนต่างด้าว/ต่างถิ่น เพื่อดูผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม น้ำแล้ง พื้นที่ให้ความสำคัญกับน้ำท่วมที่ส่งผลกระทบแบบเห็นชัด ด้วยทิศทางการไหลของน้ำ บวกกับการถมที