"iGreen Smile ตอนที่ 4"ทีมงานหลักๆของเราประกอบด้วย ปลาจากเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัด หมีและผมจากมูลนิธิชุมชนสงขลา โดยมีผู้ช่วยอีกมากหน้า ได้แก่ กรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ครูไก่-วุฒิศักดิ์ พี่เป็ด พี่กำราบ อ.ปรึกษาโครงการ อ.นิคม จากคณะวิศวะ ม.อ.ในช่วงการเตรียมพร้อมนำเสนอ มีไอซ์ทีม NIA ส่วนกลาง น้องโบว์ หนูดีและผู้ทรงคุณวุฒิอีกหลายท่าน ช่วยทำให้แนวคิดโครงการกระชับอยู่ในร่องรอยและเป็นจริงได้มากขึ้
"iGeen Smile" ตอนที่ 3มาถึงส่วนสำคัญที่สุด นั่นคือ การเขียนโครงการ น้องโบว์ทีมพี่เลี้ยงบอกเราในภายหลังว่า ทีมเราถือว่าเป็น "ม้ามืด" ที่ไม่คิดว่าจะเข้าขบวนจนสามารถขอการสนับสนุนได้หัวใจการเขียนข้อเสนอโครงการ ประกอบด้วย 5 ส่วนสำคัญที่ชวนสมองบวม คือข้อมูลทั่วไป มี 4 หัวข้อย่อย1.บทสรุปผู้บริหาร(ชื่อโครงการ/ภาพรวมโครงการ)2.ข้อมูลผู้เสนอโครงการ3.ข้อมูลนิติบุคคล4.วัตถุประสงค์ของโครงการ
"iGeen Smile" ตอนที่ 2ครั้นตัดสินใจเดินหน้าต่อ สำคัญที่สุดต้องเลือกว่าจะเลือกเดินอย่างไร แนวคิดเดิมที่ต้องการต่อยอดงานเกษตรอินทรีย์ ทว่าผู้ผลิตมีน้อยเกินไป จึงนำบทเรียนการส่งผักมาตรฐานGAPเข้าสู่โรงครัวรพ.หาดใหญ่มาต่อยอด ด้วยการใช้แนวคิด "ตลาดล่วงหน้านำการผลิต" บวกกับโอกาสเชิงนโยบายที่ทำงานกับคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 12 ที่ต้องการขยายผลเรื่องนี้ไปในทุกจังหวัด และเรามีฐานเครือข่าย
"iGreen Smile"ตั้งใจบันทึกเบื้องหน้าเบื้องหลังการได้มาของ Platform จัดส่งวัตถุดิบอาหารปลอดภัยสู่ครัวโรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร ฯลฯ เอาไว้เวอร์ชั่นแรกใกล้แล้วเสร็จ พร้อมนำให้คู่ค้าที่จะร่วมมือกันได้ใช้ในเร็วๆนี้ตอนที่ 1ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา มูลนิธิชุมชนสงขลาได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานนวตกรรมแห่งชาติ(NIA) ภายใต้โครงการนวตกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้เริ่มต้นจากการพัฒนา application Gr
เครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ขอแจ้งกิจกรรมของวันที่ 7 มิถุนายน 2565เวลา 09.00 -11.30 น. เรียนแอพลิง แนะนำโดย คุณสุวิทย์สถานที่ ที่ทำการเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ถนนแหลมสนอ่อนพักรับประทานอาหารกลางวันเวลา 13.00 - 16.00 น. เรียนแอพ iMed@ home แนะนำโดย ทีมงานมูลนิธิชุมชนสงขลาสถานที่ ห้องประชุมชั้น 2 ณ ที่ว่าการอำเภอเมืองสงขลาสรุปการจีัดกิจกรรมวันอังคารที่ 7 
เช้าวันที่ 3 มิถุนายน 2565วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระราชินี ในรัชกาลที่ 10ชาวชุมชนแหลมสนอ่อนพร้อมด้วยชุมชนเครือข่าย ชุมชนสนามบิน และชุมชนศาลาเหลืองเหนือ ได้ร่วมใจกันพัฒนาพื้นที่ชุมชนบริเวณที่ทำการกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อนผู้สูงวัยเดินไม่ไหวยังมานั่งเป็นกำลังใจและหิ้วปิ่นโตมาฝาก#ชุมชนแหลมสนอ่อน#ชุมชนสนามบิน#ชุมชนศาลาเหลืองเหนือบุณย์บังอร ชนะโชติ รายงาน
ร่วมแรงเปลี่ยนแปลงเมืองโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (Success) ได้รับความสนับสนุนจากสหภาพยุโรป(EU) เพื่อขับเคลื่อนขบวนภาคประชาสังคมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการทำงานผ่านมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ (CSNM) และมูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF)พื้นที่เป้าหมายในพื้นที่ภาคใต้และภาคอีสาน ภาคใต้ ๖ เมือง และภาคอีสาน ๖ เมื
"SUCCESS 12 เมือง"วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เครือข่ายเมืองทั้งอิสานและภาคใต้ 12 เมือง ภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(SUCCESS) โดยการสนับสนุนจากสหภาพยุโรป ได้ร่วมนำเสนอผลการประเมินความเปราะบางของเมืองเมืองที่เข้าร่วมมีทั้งเมืองหลัก เมืองบริวาร เมืองระดับอำเภอ ตำบล และมีลักษณะเป็นเมืองหลักที่เติบโตเต็มที่มีทั้งความเจริญทางวัตถุ การบริโภคแต่ก็เต็มไปด้วยประชากรแฝง คนจนเมือง
"SUCCESS 12 เมือง"วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เครือข่ายเมืองทั้งอิสานและภาคใต้ 12 เมือง ภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(SUCCESS) โดยการสนับสนุนจากสหภาพยุโรป ได้ร่วมนำเสนอผลการประเมินความเปราะบางของเมืองเมืองที่เข้าร่วมมีทั้งเมืองหลัก เมืองบริวาร เมืองระดับอำเภอ ตำบล และมีลักษณะเป็นเมืองหลักที่เติบโตเต็มที่มีทั้งความเจริญทางวัตถุ การบริโภคแต่ก็เต็มไปด้วยประชากรแฝง คนจนเมือง
"เวทีคืนข้อมูล SUCCESS เมืองปาดังเบซาร์"วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 คณะทำงานโครงการ SUCCESSS เมืองปาดังเบซาร์จัดเวทีคืนข้อมูลผลการศึกษาการประเมินความเปราะบางชองเมืองปาดังเบซาร์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ณ ห้องประชุมสภาของทม.ปาดังเบซาร์ โดยมีหน่วยงานที่มาร่วมได้แก่ ทม.ปาดังเบซาร์ ด่านศุลกากร ตม. รพ.สต. โรงเรียนในพื้นที่และคณะทำงานผลการศึกษาสำคัญ ชี้ประเด็นอุณหภูมิที่สูงขึ้นจากสภาพธรรม