"iMed@home+iMedCare"แม้โควิดจะไม่เป็นใจ แต่งานก็รอไม่ได้ มูลนิธิชุมชนสงขลา/สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา/กขป.เขต12 คณะพยาบาลศาสตร์มอ. และเครือข่าย เดินหน้างานการดูแลกลุ่มเปราะบางทางสังคม ปี 65 มีแผนจะดำเนินการดังนี้1.ร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ อบรม CG,นักบริบาลท้องถิ่น,อสม.,อพม. 100 คน เพิ่มทักษะการให้บริการพื้นฐานด้านสุขภาพ และให้ใช้ระบบเยี่ยมบ้าน iMed@home ในการติดตามรายงานผล ส่งต
"ความร่วมมือกับ WWF"บอมและทีมงานของ WWF กองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (World Wide Fund for Nature - WWF)มาชวนมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมโครงการลดขยะพลาสติกในเขตเมืองใหญ่ของสงขลาคือ ทน.หาดใหญ่และทน.สงขลา ได้หารือกันเบื้องต้น1.แนวทางที่คาดว่าจะดำเนินการร่วมกัน ประกอบด้วย1.1 กิจกรรมลดพลาสติกระดับชุมชน ซึ่งทั้งสองพื้นที่ มูลนิธิฯมีเครือข่ายชุมชนที่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้แก่ เครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา/ศูนย์บ่อย
เมื่อสภาพอากาศแปรปรวนทำให้เกิดฝนตกหนักและต่อเนื่องในพื้นที่เมิองบ่อยาง เทศบาลนครสงขลามาตั้งแต่วันที่ 2 เมษายน 65 จนถังวันนี้ ( 5 เมษายน 65) มีผลให้ชุมชนแออัดบางชุมชนมีน้ำท่วมขังบริเวณทางเดินเข้าบ้านในซอย และบ้านเรือนหลายหลังมีน้ำท่วมขังภายในบ้าน และกลายเป็นน้ำครำสกปรกจากการศึกษาความเปราะบางของเมืองบ่อยาง สงขลา ในระยะเดือนสิงหาคม 2564 - เดือนเมษายน 2565 พบว่าปัญหาสำคัญที่เป็นปัญ
บ่ายวันนี้ ( 6 เมษายน 65 ) ณ ศูนย์บ่อยางฯ ชุมชนแหลมสนอ่อนสมาชิกเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลาแวะเวียนกันมาพบปะพูดคุยเพื่อหาทางออกของปัญหาชุมชนคนจนเมืองบ่อยางร่วมกันรวมถึงได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในรูปที่แสดงคือ ผู้นำชุมชนศาลาเหลืองเหนือกับพี่น้องคณะทำงานของชุมชนสนามบิน(ซึ่งมีทักษะด้านการทำแผนที่ )ถ้อยทีถ้อยอาศัยมีน้ำใจต่อกันช่วยกันทำแผนที่และผังของชุมชนศาลาเหลืองเหนือเพื่อที่จะนำไปใช้เป็นเครื
ประชุมคณะทำงานประเมินความเปราะบางของชุมชนเมืองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 6 ทีม-ภาคใต้ประจำเดือนเมษายน 25654 เมษายน 2565 - โครงการ SUCCESS สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป จัดประชุมเครือข่ายภาคประชาสังคม (ภาคใต้) ประจำเดือนเมษายน ผ่านระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย นำทีมโดย ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา มูลนิธิชุมชนสงขลา และแกนนำภาคประชาสังคมจังหวัดสงขลา สตูล และพัทลุงใกล้โค้งสุดท้ายเข้ามาทุกท
"SUCCESS 6 เมืองในพื้นที่ภาคใต้"มูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะผู้รับผิดชอบประสานงานในพื้นที่ภาคใต้ของโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อการเปลี่ยนแปลงเมือง(SUCCESS) ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรปผ่านมาทางสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย เป็นผู้รับผิดชอบหลัก ลงพื้นที่เสริมการดำเนินงานกิจกรรม 1.3 ศึกษาประเมินความเปราะบางของเมือง ใน 6 พื้นที่เป้าหมาย ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดโอไมครอน24 มีค.ลงพื้นที่เมืองละงู
"SUCCESS บ่อยางปฎิบัติการช่วยเหลือกันเอง"ส่งมอบเงิน 20,000 บาทจากแคมเปญ "วาดภาพช่วยคน" เป็นทุนตั้งต้นให้กับคณะทำงาน Success เมืองบ่อยางและเครือข่ายที่มีมาอีกหลายชุมชน เป็นพยานนำไปสู่การจัดตั้งครัวกลางในชุมชนสมาชิกเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ประเดิมในบางชุมชนที่พร้อมร่วม ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางคนจนเมืองที่ได้รับผลกระทบจากโควิดโดยชุมชนแหลมสนอ่อนจะตั้งครัวกลางที่นี่เป็นจุดนำร่อง เพื่อขยายผลไปยังชุมชน
"Songkhla wallet(ถุงเงินสงขลา)"สหกรณ์จังหวัดสงขลาจับมือผู้ประกอบการท้องถิ่นเคแอนด์เค สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในจังหวัดก้าวที่หนึ่งของการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์สงขลาในด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามข้อเสนอของสมาชิกในงานวันพลเมืองสงขลา ปี 63 ผลักดันให้เกิด Songkhla wallet(ถุงเงินสงขลา) เพื่อเป็นแนวทางพึ่งตนเอง พึ่งกันเอง ส่งเสริมทุนท้องถิ่น ทำให้เกิดเศรษฐกิจและเงินหมุนเวียนในพื้นที่ โดยสหกรณ์จังหวัดสงขลา
ต่างคนต่างทำคงไม่ท้าทายเท่าการร่วมมือกัน แนวคิดการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระบบนิเวศน์ลุ่มน้ำจึงเกิดขึ้น เชื่อมโยงวิถีชีวิต ระบบเกษตรอาหารปลอดภัยและแหล่งท่องเที่ยวแนวทางขับเคลื่อนต่อไป1)ใช้กลไกขับเคลื่อนโดยมีแกนประสานหลักของเครือข่ายฯลฯ ขับเคลื่อนตั้งต้นจากคนรุ่นใหม่เครือข่ายท่องเที่ยวเขาคูหา2)จัดทำ Mapping แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเกษตร ต้นน้ำกลางน้ำปลายน้ำ3)ศึกษาศักยภาพแหล
ประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองละงู (SUCCESS เมืองละงู)วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3 พื้นที่คือ1)ตำบลละงู 2)ตำบลกำแพง 3)เทศบาลตำบลกำแพง อ.ละงู จ.สตูลข้อมูลเบื้องต้นจากการวิเคราะห์ 3 พื้นที่ คือ ความเป็นชุมชนยังมีอยู่ ชุมชนยังอยู่รวมกันเป็นครัวเรือน อาศัยการช่วยเหลือกันของความเป็นญาติและความเป็นเครือข่ายในชุมชน ชุมชนมีที่ดินเป็นของตัวเอง ประกอบอาชีพเก