"เครือข่ายชุมชนเมืองบ่อยาง" รวมเป็นหนึ่งเดียวและพัฒนาร่วมกันกิจกรรม ในวันที่ 26 มกราคม 2566 ภาคเช้า 9:00 น.พบ นายกเทศมนตรีนครสงขลาภาคบ่าย 13:00 น.พบ นายอำเภอเมืองสงขลารายชื่อผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม ณ ที่ทำการกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อน1.นางบุณย์บังอร ชนะโชติ2.เอื้อมพร พงศ์รัตน์3.อุบล จังสกุล4.นิมิตร พลายชมภู5.ปรีชา พลายชมภู6.รัฐไกร พลายชมภู7.สุนีย์&
เวทีการพูดคุยสร้างความเข้าใจในกระบวนการร่วมกันคิดร่วมกันทำเครือข่ายชุมชนร่วมพัฒนาเมืองสงขลาบ่ายวันศุกร์ที่ 20 มกราคม 2566 ณ ที่ทำการกองทุนชุมชนริมคลองสำโรงพอช.ภาคใต้ ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา และคณะทำงานเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ได้เปิดเวทีการพูดคุยสร้างความเข้าใจในกระบวนการร่วมกันคิด ร่วมกันทำ และร่วมกันลุกขึ้นมาจัดการกับปัญหาของตนเองและชุมชน ด้วยตนเอง โดยหน่วยงานหรือองค์กร
"พัฒนาโครงการนำร่อง SUCCESS เมืองโตนดด้วน"วันที่ 19 มกราคม 2566 โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(success) พื้นที่ภาคใต้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการนัดหมายคณะทำงานเมืองโตนดด้วน จังหวัดพัทลุง มาพัฒนาโครงการนำร่อง ที่จะเป็นกิจกรรมหลักในปีที่ 4 ของโครงการเมืองโตนดด้วน เน้นการสร้างการมีส่วนร่วมผ่านการจัดทำแผนและผังภูมินิเวศเพื่อบริหารจัดการน้ำโดยเฉพาะน้ำกินน้ำใช้เพื่อการเก
"พัฒนาโครงการนำร่อง success"อีกหนึ่งขั้นตอนสำคัญ นอกจากได้ข้อเสนอโครงการนำร่องอันเป็นกิจกรรมในปีที่ 4 ของโครงการแล้ว ยังเป็นโอกาสในการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานผ่านการเขียนโครงการอีกด้วย โดยข้อเสนอโครงการนำร่องดังกล่าวเลือกนำบางยุทธศ่าสตร์ของเมืองที่ได้ดำเนินการมาขับเคลื่อนวันที่ 18 มกราคม 2566 เป็นรอบของเมืองพะตง เมืองควนลังที่มีมูลนิธิเครือข่ายเมืองภาคใต้เพื่อการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภา
"พัฒนาโครงการนำร่อง success"วันที่ 17 มกราคม 2566 เมืองบ่อยางและปาดังเบซาร์ คณะทำงานของ 2 เมืองมาร่วมพัฒนาโครงการรอบสุดท้ายเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการนำร่องที่จะเป็นกิจกรรมหลักในปีที่ 4 ของโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรปเมืองบ่อยางวางเป้าหมายจัดตั้งองค์กรนิติบุคคลที่มาจากฐานเครือข่ายชุมชนโดยเฉพาะในกลุ่มคนจนเมืองเพื่อร่วมแก้ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย การสร้า
"ระบบข้อมูลกลางคนสงขลา"คณะทำงานข้อมูลกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัด ประชุมเพื่อรับทราบความก้าวหน้าการดำเนินงานในการนำเข้าข้อมูลจาก 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ สสจ. กองทุนฟื้นฟูฯ มูลนิธิชุมชนสงขลา เข้าสู่ เว็บไซต์http://xn--22cdj5eyc1a3d.com/เพื่อที่จะบูรณาการข้อมูลคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง และผู้ป่วยในระยะฟื้นฟู เพื่อสิ้นสุดการทำงานระยะที่ 1และเตรียมงานระยะที่ 2 ในการคืนข้อมูล สอนการใช
วันที่ 15 มกราคม 1566 ชุมชนสนามบิน เทศบาลนครสงขลา นัดประชุมคณะทำงานกรรมการกลุ่มออมทรัพย์และสมาชิกผู้สนใจเข้าร่วมรับฟังชี้แจงและวางแผนงานเรื่องการวางแผนงบ ประมาณที่พอช.จะลงมาพัฒนาชุมชนเช่นงบซ่อมแซมที่อยู่อาศัยงบสาธารณูประโภคกำหนดวันเวลาและสถานที่จัดประชุมไว้ในแผนงานและเตรียมความพร้อมทำงานร่วมกับคณะนักศึกษาที่จะลงมาทำงานร่วมกับชุมชนครับพัลลภ พึ่งภักดี บันทึกข้อมูลสรุปแผนการนัดพบของชุมชน ด
"core team ร่วมพัฒนาเมืองสงขลา"วันที่ 15 มกราคม 2566 นัดหารือรอบนอกเตรียมงานเพื่อประสานความร่วมมือในการทำงานร่วมกันในพื้นที่เมืองบ่อยางหรือเมืองสงขลาผ่านระบบประชุมทางไกลรับทราบแผนงาน/กิจกรรมของแต่ละองค์กรในปี 66 ข้อมูลที่ได้จะนำไปสู่การประสานการทำงานระดับชุมชนและภาพรวมต่อไปประกอบด้วย1)มูลนิธิชุมชนสงขลา/โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง/4pwสงขลา2)คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศ
วันที่ 15 มกราคม 2566 เครือข่ายชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา ร่วมกับประชุม พอช. มีภาคีร่วมคือ คณะสถาปัตย์ มทร.ศรีวิชัยพอช.กับ มทร. ศรีวิชัย มีแผนจะเซ็น MOU จะทำงานร่วมกันในการออกแบบผังชุมชน โดยเริ่มต้น ผังชุมชนแหลมสนอ่อน และชุมชนสนามบินวันที่ 20 ม.ค. 66 คณะทำงานจังหวัด จะมีการประชุมที่ศาลากลาง ประเด็น ชุมชนแหลมสนอ่อนพอช.(วันนี้ฝ่ายบริหารของ พอช.มาครบ) ได้ให้การบ้านไว้คือ ชุมชนแห
วันที่ 13 มกราคม 2566 ทีมงานจากคณะแพทยศาสตร์ ม.อ.พร้อมเจ้าหน้าทึ่ pcu สมิหลา มานัดหมายเกี่ยวกับการลงพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อนของนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ ม.อ.ในเดือนกุมภาพันธ์ที่จะถึงตอนนี้กำลังไปดูห้องพักชุมชนสำหรับนักศึกษาจำนวน 23 คนถือเป็นจุดเริ่มต้นการต้อนรับคณะผู้มาเยือนด้วยห้องพักและครัวชุมชนแหลมสนอ่อน ซึ่งจะสอดคล้องกับการวางตำแหน่งชุมชนของเราเป็น " ชุมชนท่องเที่ยว"นอกจากนี้ คุณย