"การปรับตัวของชุมชน"ภายใต้โครงการถอดบทเรียนชุมชนรับมือโควิด-19 มีโอกาสได้นำเครื่องมือ 7 ชิ้นของนพ.โกมาตรบางส่วนมาปรับใช้ในการทำงานกับชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลามีบทเรียนที่อยากมาแลกเปลี่ยนครับเครื่องมือเหล่านี้อดีตเป็นส่วนที่ข้าราชการไปทำให้ แต่เมื่อเปลี่ยนมาให้ชุมชนดำเนินการเอง เท่ากับเป็นการเปิดพื้นที่การเรียนรู้ให้ชุมชนรู้จักตนเองทั้งในด้านปัญหาและศักยภาพ ทั้งในเชิงกายภาพ ตัวบุคคล สภาพแวดล้อ
"ความร่วมมือในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา"22 ธันวาคม 2565 เวลา 13.00 น. นายกวันชัย ปริญญาศิริ นัดเครือข่ายที่จะร่วมมือกันทำงานในพื้นที่เข้าพบเพื่อหารือแนวทางการทำงานร่วมกัน ณ ห้องประชุมชั้น 2 มีข้อสรุปจัดตั้งคณะกรรมการร่วมคู่ขนานกับการทำกิจกรรมที่แต่ละองค์กรดำเนินการ โดยทำหน้าที่กำหนดเป้าหมายร่วม แผนปฏิบัติการ อำนวยการ สนับสนุน ติดตามประเมินผลการทำงานร่วมกัน โดยมอบให้กองสวัสดิ์เป็นผู้ประสานงานใน
"ต้นไม้ระบบสุขภาพชุมชนแหลมสนอ่อน 1"โจทย์ยากๆของงานเชิงระบบคือ การอธิบายให้สามารถเข้าใจภาพได้ง่ายๆ กระชับลองนำแนวคิดต้นไม้ระบบสุขภาพ นำแนวทางที่ได้รับจากงานถอดบทเรียนโควิดมาทดลองทำดู ชิ้นนี้นำเสนอระบบสุขภาพชุมชนในภาวะปกติ ว่าประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง โดยใช้ต้นไม้มาอธิบาย ไม่ได้ยึดคู่มือตรงๆ ที่ให้พิจารณากรอบระบบสุขภาพ 6 block คือ ระบบบริการ กำลังคน งบประมาณ/ค่าใช้จ่าย องค์ความรู้/นวตกรรม ระบบสารสนเท
ชุมชนของคุณ พร้อมรับมือน้ำท่วม มากแค่ไหน?น้ำท่วมไม่ได้เป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์อุทกภัย เรามักพบว่า ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยไม่ได้มีการเตรียมความพร้อม เนื่องจากไม่รู้ข้อมูลความเสี่ยง ไม่มีการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าที่ชัดเจน หรือประเมินความเสี่ยงต่ำกว่าที่เป็นจริงการรับมือกับสถานการณ์โดยทั่วไปมักพบว่า มีการช่วยเหลือโดยหน่วยงานต่างๆ เช่น การแจกถุงยังชีพ การบริจาค การอพยพ ฯ
วันที่ 16 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ม.อ.มูลนิธิอนุรักษ์ป่าต้นน้ำและมูลนิธิชุมชนสงขลา มอบจอบและพร้า ให้ ทสม.คลองหอยโข่ง(ป่าผาดำ)มอบอาวุธ(จอบ พร้า) ให้ทสม.(ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอาสาสมัคร)ป่าต้นน้ำผาดำ โดยมูลนิธิรักษ์ป่าต้นน้ำ(เงินบริจาคจากกำไรของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) โดยคุณประโชติ อินทร์ถาวรกับมูลนิธิชุมชนสงขลาโดยคุณชิต สง่ากุลพงศ์ กั
"4Pw สงขลา"งานพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม จ.สงขลา ปีนี้กำหนดเป้าหมายล่วงหน้า 5 ปี ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อมยั่งยืน สังคมเป็นสุข...เน้นมิติการทำงานร่วมกันบนฐานเครือข่าย ภาคประชาสังคมเป็นเก้าอี้ขาที่ 4 ที่พร้อมทำงานกับภาคส่วนต่างๆอย่างเท่าเทียม เสมอภาค ใช้กระบวนการเรียนรู้ต่อยอดจากฐานเดิม ออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อปรับระบบการทำงาน และเติมเต็มช่องว่างที่มีจังหวัดใหญ่มีผ
สงขลายั่งยืน สร้างภูมิคุ้มกันรองรับผลกระทบหลังวิกฤตโควิด ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมงานพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม จ.สงขลา ปี 2566ประเด็นสำคัญ1.พัฒนาการทำงาน2.ภาคีเครือข่ายความร่วมมือ3.ร่างเป้าหมาย 5 ปี ข้างหน้า4.แผนปี 2566
"จัดทำข้อเสนอโครงการนำร่อง"วันที่ 13-14 ธันวาคม 2565 แกนนำเครือข่ายเมืองในพื้นที่ภาคใต้ ของโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(success)จัดประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำข้อเสนอโครงการนำร่องภายใต้การสนับสนุนจ่ากสหภาพยุโรปภาพรวมโครงการประกอบด้วยกิจกรรมการประสานกลไกบูรณาการหน่วยงานต่างๆระดับเมืองในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะการบริหารจัดการน้ำ การจัดทำแผนและผังภูมินิเวศใ
รายการยินดีมีเรื่องวันที่ 14 ธันวาคม 2565 คุณยินดีชวนไปออกรายการของช่อง 11 บอกเล่าสภาพปัญหาและการทำงานเสริมหนุนขบวนองค์กรชุมชนของกลุ่มเปราะบางในพื้นที่เมืองสงขลาร่วมกับพี่อ้น-บุณย์บังอรความเปราะบางมีหลายระดับ สาเหตุมีตั้งแต่เชิงโครงสร้างที่ตวามเจริญของเมืองใหญ่ดึงดูดแรงงานต่างถิ่นเข้ามาหารายได้ยังชีพ ตามมาด้วยความเปราะบางของชีวิตแรงงานนอกระบบ การเข้าไม่ถึงสิทธิพื้นฐานอันเกิดจากการเป็นคนต่างถิ่
"ความร่วมมือกับชุมชนเทศบาลนครสงขลา"วันที่ 9 ธันวาคม 2565 ภาคีความร่วมมือประกอบด้วยมูลนิธิชุมชนสงขลา/โครงการSUCCESS กองทุน WWF มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ชุมชน (รวมถึงพอช.และสมาคมอาสาสร้างสุข) เข้าพบนายกวันชัย ทน.สงขลาตามที่ได้นัดหมายมาเพื่อหารือความร่วมมือหลังเข้ารับตำแหน่งมูลนิธิชุมชนสงขลา/โครงการSUCCESS สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมในการสร้างองค์กรชุมชนเข้มแข็ง พัฒนากลไกกรรมการแล