ไปอินเดีย เราไปกันเพียง 4 คน มี 4 เป้าหมาย คล้ายจะไปกันคนละทิศคนละทางคนหนึ่งไปตามรอย พระศิวะนาฏราช ค้นหาคัมภีร์นาฏยศาสตร์คนหนึ่งไป ตามหาถิ่นฐานบ้านเกิดของบรรพชนคนหนึ่งไปตามเส้นทางทางการศึกษาแห่งอิสระภาพของความเป็นมนุษย์และอีกคนหนึ่งไปในฐานะผู้ติดตามและอยากรู้อยากเห็นตามที่เขาตั้งใจไปกันแต่ในใจแอบมีจุดมุ่งหมายส่วนตัวในทางภูมิศาสตร์และสังคม เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์โฆแล้วคิดว่าถึงที่สุดแล้ว
ประชุมเครือข่าย(ชุมชน)ร่วมพัฒนาเมืองสงขลาวันที่ 11 มกราคม 2566 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 31 ชุมชน จาก 55 ชุมชนเขตเทศบาลนครสงขลาเสนอรายชื่อผู้แทนเพื่อร่วมเป็นคณะกรรมการอำนวยการประสานและขับเคลื่อนเมืองสงขลาแบบมีส่วนร่วมตัวแทนชุมชนเขต 1 นายอุทัย พงษ์สมุทร /นายปราโมทย์ ดำวงษ์ตัวแทนชุมชนเขต 2 นายอรรถพล ฟ่ามวัน /นางผุสดี สุวรรณตัวแทนชุมชนเขต 3 นายทม บุหลัน /นายสุรสิทธิ์
วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566 ตัวแทนชุมชนแหลมสนอ่อน พานักศึกษาจาก ม.เกษตรศาสตร์ กทม. ตระเวนดูแนวป่าสนและรอบๆชุมชน เพื่อออกแบบภูมิสถาปัตย์พื้นที่ โดยเน้นการใช้ประโยชน์พื้นที่แหลมสนอ่อนในอนาคต
อบรมการจัดทำระบบข้อมูล Google Workspace for Beginnerจัดโดยสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ภายใต้โครงการถอดบทเรียนกรณีโควิด ๑๙ และพัฒนาต้นแบบชุมชนเข้มแข็งในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ วันที่ ๕ มกราคม ๖๖ ผ่านระบบ Zoom๑)Google Workspace for Beginner เป็นการใช้แพลทฟอร์มเพื่อจัดการชุมชน เป็นการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยชุมชน โดยการสร้างพื้นที่กลางของชุมชน เป็นการพัฒนาระบบข้อมูล
โครงการถอดบทเรียนกรณีโควิด-19 และพัฒนาต้นแบบชุมชนเข้มแข็งในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ กรณีชุมชนแหลมสนอ่อน ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลาภายใต้แผนการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขโดยชุมชนมีส่วนร่วม สนับสนุนโดยสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ(สวสส.)กระทรวง อ.ว. TCELS และสนง.คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และมีมูลนิธิชุมชนสงขลาเป็นพี่เลี้ยงประกอบด้วย 2 กระบวนการสำคัญ ดังนี้กระบวนการ
จดหมายข่าว โครงการ SUCCESS ฉบับที่ 6
ประจำเดือน พฤษภาคม 2565 - เดือนตุลาคม 2565
สามารถดาวน์โหลดฉบับเต็มได้ที่ เอกสารประกอบด้านล่าง
"ชุมชนร่วมกำหนดเป้าหมาย มาตรการแก้ปัญหาสุขภาพ"วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวทีสุดท้ายของปีโครงการถอดบทเรียนชุมชนเขัมแข็งรับมือโควิด-19 ชุมชนแหลมสนอ่อนสงขลา ชุมชนนัดหมายสมาชิกทำกิจกรรมทำบุญตักบาตรเป็นครั้งแรกนับแต่ตั้งชุมชนกันมาจากนั้นจัดประชุมสมาชิก คืนข้อมูลที่ได้จัดทำนิทรรศการประกอบพร้อมแนะนำภาคีความร่วมมือที่จะมาร่วมดำเนินการกับชุมชนและร่วมกับทน.สงขลา ดำเนินการกับภาคีอีกกว่าสิบชุมชนในภาพ
ในส่วนของพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ชุมชนแหลมสนอ่อน เป็นชุมชนอยู่แถวหน้า ถือธงนำวันนี้ 26 ธันวาคม 2565 มีการจัดตั้งคณะทำงานระดับเมืองของเมืองบ่อยางขึ้นมาอย่างหลวมๆแต่เป็นรูปเป็นร่างก่อนมีชุมชนแหลมสนอ่อน ประสานชุมชนต่างๆในเขต 1ชุมชนพัฒนาใหม่ ประสานชุมชนต่างๆในเขต 2ชุมชนมิตรสัมพันธ์ ประสานชุมชนต่างๆในเขต 3และ ชุมชนสนามบิน ประสานชุมชนต่างๆในเขต4พอช.ภาคใต้มีการปรับแนวทางการทำงานใหม่
"ความร่วมมือขับเคลื่อนเกษตรและอาหารปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดสงขลา"สหกรณ์การเกษตรอำเภอนำร่องร่วมกับเครือข่ายพลเมืองสงขลาสร้างวาระร่วมเป็นคู่ค้าคนกลางประสานความร่วมมือเครือข่ายเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์ รพ. โรงแรม ร้านอาหาร และหน่วยงานสนับสนุนร่วมขับเคลื่อนเกษตรและอาหารปลอดภัย(มาตรฐาน GAP เป็นอย่างน้อย)ในจังหวัดสงขลาส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากวันที่ 27 ธันวาคม 2565 เครือข่ายพลเมืองสงขลาโดยการประสานงานของมูลน
"การปรับตัวของชุมชน"ภายใต้โครงการถอดบทเรียนชุมชนรับมือโควิด-19 มีโอกาสได้นำเครื่องมือ 7 ชิ้นของนพ.โกมาตรบางส่วนมาปรับใช้ในการทำงานกับชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลามีบทเรียนที่อยากมาแลกเปลี่ยนครับเครื่องมือเหล่านี้อดีตเป็นส่วนที่ข้าราชการไปทำให้ แต่เมื่อเปลี่ยนมาให้ชุมชนดำเนินการเอง เท่ากับเป็นการเปิดพื้นที่การเรียนรู้ให้ชุมชนรู้จักตนเองทั้งในด้านปัญหาและศักยภาพ ทั้งในเชิงกายภาพ ตัวบุคคล สภาพแวดล้อ