16 ก.พ.67 ประชุมคณะทำงานชุมชนบาลาเซาะห์เก้าแสน นำโดยโต๊ะอิหม่าม ประธานชุมชน กรรมการชุมชน ตัวแทนกลุ่มอาชีพ ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนเชิงพื้นที่จำนวน 17 คน ณ ศูนย์เด็กเล็กชุมชนข้อสรุปวันนี้1.นัดประชุมจัดทำแผนชุมชนบาลาเซาะห์โดยคณะทำงานชุมชน17คนอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมแก้ปัญหาของชุมชนในมิติต่างๆ2.วิเคราะห์กลุ่มองค์กรชุมชนที่มีประกอบด้วยกลุ่มต่างๆในชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มพื้นที่ พร้อมใส่ชื่อสมาชิกหญิงชา
พช.สงขลา จับมือภาคีเครือข่าย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ และบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัดสงขลา (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด ขับเคลื่อน platformon ออนไลน์ศูนย์รวมจำหน่ายสินค้าชุมชน OTOP จังหวัดสงขลาวันนี้ 16 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 13:30 น. ณ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จังหวัดสงขลานายสงัด พืชพันธุ์ พัฒนาการจังหวัดสงขลา มอบหมายให้นางจารุวรรณจันทร์มา พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา เข้าร่
"Sandbox แบบคัดกรองสุขภาวะรายคนและแผนสุขภาวะรายคน ระบบกลุ่ม iMed@home ตำบลควนโส"วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567 กาารประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำแผนสุขภาวะชุมชน/ธรรมนูญชุมชนและแผนสุขภาวะรายคน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง ณ วัดปากจ่า โดยมีท่านปรีชัย มาละวัณโณ ที่ปรึกษานายกอบจ.สงขลา ปลัดอาวุโส ปิยพัชร์ วุ่นดำ ให้เกียรติมาเป็นประธาน และมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย สสอ. ปลัดประจำตำบล ผู้แทนพัฒนาการอำเภอ ผู้ประสานงานโซน
CENTER ดูแลผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง คนพิการ ผู้ป่วยในระยะกึ่งเฉียบพลัน จ.สงขลาแนวทางดำเนินการ1.พัฒนามาตรฐานของหลักสูตร เห็นชอบให้พัฒนาหลักสูตร"สงขลา" โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมทบทวน ร่วมสร้างมาตรฐานกลาง ร่วมวิเคราะห์วิชาหลัก วิชารอง วิชาเสริม แต่ก็คงความเป็นอัตลักษณ์และความเฉพาะตัวของแต่ละหน่วยงาน โดยภาคีหลักประกอบด้วย1.1 ศูนย์อนามัยฯ มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของระบบ LTC ประกอบด้วยอ
"CENTER ดูแลผู้ดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยในระยะกึ่งเฉียบพลัน"วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลาประสานภาคีเครือข่ายประกอบด้วยศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ศูนย์สนับสนุนการบริการสุขภาพที่ื12 สนง.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สนง.กรรมการสิทธิมนุษยชนภาคใต้ สสจ. อบจ. คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ. คณะแพทย์ม.อ. มูลนิธิชุมชนสงขลา/กขป.เขต 12 หารือแนวทางความร่วมมือการพัฒนามาตรฐานผู้ดูแล บนฐาน
"center ระบบรับส่งคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยฯ"วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 ทีมข้อมูลกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา ประสานภาคีเครือข่ายประกอบด้วย สปสช.เขต 12 อบจ. สสจ. พมจ. ขนส่งจังหวัด สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทยสงขลา รพ.หาดใหญ่ สนง.กรรมการสิทธิมนุษยชนภาคใต้ ทีมโปรแกรมเมอร์อบจ. มูลนิธิชุมชนสงขลา หารือแนวทางพัฒนาระบบรับส่งผู้ป่วยไปยังสถานบริการในพื้นที่จังหวัดสงขลา ณ ห้องประชุมชั้น 3 ศูนย์บริบาลอบจ.สงขลา
"การอภิบาลระบบสุขภาพรองรับการถ่ายโอน รพ.สต. กรณีจังหวัดสงขลา"องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ปีพ.ศ.2566-2567 มีรพ.สต.สมัครใจถ่ายโอนมา 12 อำเภอ จำนวน 49 แห่ง บุคลากรรวมทั้งสิ้น 371 คน อยู่ในระหว่างวางระบบการดำเนินงาน จากการศึกษาเบื้องต้นของ ม.ราชภัฎฯและการรายงานจากผู้บริหารพบอุปสรรคที่มีส่วนใหญ่เกิดจากการทำงานข้ามกระทรวงในช่วงเปลี่ยนผ่าน ทั้งเรื่องงาน/เงิน/วัสดุอุปกรณ์ โครงสร้างการทำงานของบุคลากร ส
วันที่ 31 มกราคม 2566การประชุมปรึกษาหารือการเตรียมความพร้อมดำเนินงานโครงการติดอาวุธกลยุทธ์ออนไลน์ เพิ่มยอดขายด้วยคอนเทนต์ ตามข้อสั่งการของผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาร่วมกับ ทีมงานสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา/พาณิชย์จังหวัดสงขลา/เครือข่ายOTOP ในแต่ละอำเภอ/ผู้แทนมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ โดยมีนายอำนวย พิณสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธานในที่ประชุมคุณมนุชาธิป วรกาญจนานนท์ กรรมการบริษัท ประชา
โประชุมทีมวิชาการและพื้นที่ sandbox รพ.สต.ถ่ายโอนอบจ.สงขลาโวันที่ 28 มกราคม 2567 ประชุมทีมม.ราชภัฎฯ ทีมรพ.สต.ควนโส/ป่าขาด สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา ปรับแผนปฏิบัติการและเตรียมกิจกรรมพื้นที่ มีข้อสรุปสำคัญดังนี้1.ข้อมูลกิจกรรมตั้งแต่ 18 ธค.66-23 มค.67 ได้จัดกิจกรรมไปทั้งสิ้น 9 ครั้ง ใช้งบไปจำนวน 189,939 บาท มีงบคงเหลือที่จะปรับแผนในช่วงต่อไปได้ 210,061 บาท2.ทีมกลางสช.ได้ขยายเวลาดำเนินการไปอ
13 วัน 66 คน พอไหวนะรถตู้ลดเหลื่อมล้ำ เปิดบริการไปแล้ว 13 วันทำการ มีผู้รับบริการแล้ว 66 คน สัปเาห์แรกก็ใจหายนิดหน่อย คนมาใช้บริการน้อยเพราะส่วนใหญ่ยังไม่รู้ ผ่านไป 2 สัปดาห์ คนขับรถบอกว่า โไม่เหงาแล้วโสำหรับคนรับบริการ 66 คน โรงพยาบาลเก็บค่ารถไปกลับคนละ 150 บาท ก็ได้เงินเข้าระบบมา 9,900 บาท ต้นทุนเฉลี่ยวันละ 1,000 บาท ก็เป็นเงิน 13,000 บาท โรงพยาบาลยังขาดทุนนิดหน่อยถ้า 66 คนนี้เหม