"ประชุมทีม Success เมืองพะตง"วันที่ 18 มีนาคม 2567 ประชุมทีมคณะทำงาน success เมืองพะตงหารือการทำงานในช่วงท้ายของโครงการ ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ1.เตรีียมเนื้อหานำเสนอในเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง สงขลา นำเสนอภาพรวมของการรับมือและปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเมืองพะตง จุดเน้นคือการใช้น้ำ จุดเด่นของงานที่ดำเนินการโดยเฉพาะการเก็บข้อมูลผ่าน GIS2.กิจกรร
"ประชุมทีมsuccess เมืองละงู"วันที่ 17 มีนาคม 2567 ประชุมทีมคณะทำงาน success เมืองละงู หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป ณ ห้องประชุมกลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา1.เตรียมเนื้อหาการนำเสนอในเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม ณ โรงแรมเบญจพร ในประเด็นการรักษาระบบนิเวศของคลองละงู จุดเน้นอยู่ที่การเปิดพื้นที่การทำงานร่วมกันบนฐานภูมินิเวศ ภูมิวัฒนธรรม ภูมิสังคม2.กิจกรรมช่วงท้ายของโครงการ2.1 เดือนมีนาคม-เมษายน งบ 2.8
"ประชุมทีม success โตนดด้วน"วันที่ 16 มีนาคม 2567 คณะทำงานโครงการเมืองโตนดด้วนและมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมหารือการทำงานในกิจกรรมช่วงสุดท้าย1.เตรียมเนื้อหานำเสนอภาพรวมของกิจกรรมเมืองบ่อยาง 10 นาทีในการประชุมเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม 2567 ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง จ.สงขลาจุดเน้นการใช้ระบบนิเวศผ่านห้วยขี้ค่าง2.หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป2.1 ช่วงมีนาคม-เมษายน งบ4หมื่นประชุมทีมจัดทำป้ายกติกาห้
"ประชุมทีม success ปาดังเบซาร์"วันที่ 14 มีนาคม 2567 คณะทำงานโครงการเมืองปาดังเบซาร์และมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมหารือการทำงานในกิจกรรมช่วงสุดท้าย1.เตรียมเนื้อหานำเสนอภาพรวมของกิจกรรมเมืองบ่อยาง 10 นาทีในการประชุมเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม 2567 ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง จ.สงขลาจุดเน้นการรับมือ pm 2.52.หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป2.1 ช่วงมีนาคม-เมษายน งบ2.5หมื่นจัดทำธงเตือนภัยจัดพิมพ์ชุดความร
สำรวจและทำผังมือชุมชนริมทางบ้านคลองปอม เทศบาลบ้านไร่พี่น้องชุมชนริมทางรถไฟ""เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังนำทีมโดย รองนายกและ สท.เพลินจิตร์ พ่วงแสง บันทึกเรื่องราว
"Sand box การจัดทำแผนสุขภาวะชุมชนและรายบุคคลแบบมีส่วนร่วม"การพัฒนามีไม่มากที่เริ่มด้วยการทำงานแบบทำร่วม ยิ่งน้อยไปอีกคือการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายดำเนินการเองฐานคิดเช่นนี้เอง นำมาสู่การออกแบบ Application ระบบกลุ่ม iMed@home ของมูลนิธิชุมชนสงขลา วางเป้าหมายไว้เพื่อเสริมหนุนให้ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายสามารถนำไปใช้ดำเนินการเอง เป็นเจ้าของสุขภาวะของตน ที่สำคัญทำงานเชิงรุกกับกลุ่มเสี่ยง ไม่รอเป็นกลุ่ม
"Sand box ระบบสุขภาพปฐมภูมิโดยชุมชนมีส่วนร่วมในเขตเมือง"กรณีชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลา ผ่านการเรียนรู้และพัฒนา(DE)1.ค้นหาประเด็นวิกฤตด้านสุขภาพ นั้นคือ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่อยู่อาศัย หนี้สิน...ชุมชนเลือกดำเนินการเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง2.การกำหนดภาพฝันร่วมของประเด็นวิกฤตที่เลือก(3-5ปี)เป้าหมาย...กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยสามารถปรับพฤติกรรมเสี่ยง มีการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน และกำหนดกต
วันที่ 2 มีนาคม 2567วันแรกของกิจกรรมสรุปผลลัพธ์โครงการนำร่อง 6เมืองภายใต้งานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองsuccess พื้นที่ภาคใต้1)โครงการนำร่องบรรลุผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่อย่างไร วัดจากอะไร2)โครงการนำร่องลดความเปราะบางของชุมชนและเมืองได้อย่างไรบ้าง3)รูปธรรมความสำเร็จที่สุดของโครงการคืออะไร น่าสนใจอย่างไร4)สิ่งที่ยังทำไม่ได้และต้องทำต่อไปคืออะไร ให้ใครทำ...ทำเอง หรือหน่วยงา
"ลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อสุขภาวะตนเอง ชุมชนแหลมสนอ่อน สงขลา"วันที่ 1 มีนาคม 2567 ต้นแบบการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิโดยชุมชนมีส่วนร่วมในเขตเมือง กลุ่มเสี่ยง/ป่วยในชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลาที่สมัครใจร่วมปรับพฤติกรรมจำนวน 21 คน ประชุมร่วมกันรับฟังผลการคัดกรองสุขภาวะรายคน ที่ดำเนินการผ่านระบบกลุ่มของแอพ iMed@home เป็นผลการคัดกรองของเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ณ ร้านน้องเมย์ โดยมี PCU สมิหลา มาร่วม1.ทบ
"ชุมชนควนลังกับการบริหารจัดการน้ำ"วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2567 WorldBank ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา โครงการsuccess เมืองควนลัง ลงเก็บข้อมูลชุมชนที่ประสบปัญหาน้ำท่วมน้ำแล้งในเมืองควนลัง 2 ชุมชนเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ศึกษาเพื่อนำไปสู่รายงานและข้อเสนอแนะกับรัฐบาลไทยต่อการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศชุมชนม่วงค่อม พื้นฐานเป็นคนดั้งเดิมของควนลัง พื้นที่โดยรวมเป็นชุม