"ประชุมทีมทำแผนรองรับสังคมสูงวัย ชุมชนบ้านเพนียด อบต.แค"วันที่ 14 พฤษภาคม 2567 กองสาธารณสุขอบจ.สงขลาและมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมกับอบต.แค จัดประชุมคณะทำงานชุมชน นำโดยปลัดอบต. นักพัฒน์ อสม. ร่วมวิเคราะห์ผลการคัดกรองสุขภาวะรายคนกลุ่มเสี่ยง 100 คนในชุมชนนำร่อง ร่างแผนชุมชนเพื่อนำเข้าเวทีประชาคม โดยมีนายเชิดเกียรติ เมธีลักษณ์ ที่ปรึกษานายอบจ.สงขลา ให้เกียรติมาเปิดการประชุม
โรงเรียน "หมอพืชชุมชน พะตงบ้านฉัน"วันที่ 7 พฤษภาคม 2567คณะทำงาน Success พะตง นำโดย นายพัชฐ์สิชณ ศรประสิทธิ์ กำนันตำบลพะตง ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา ได้จัดกิจกรรม Kick off โครงการ โรงเรียน โหมอพืชชุมชน พะตงบ้านฉันโ ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 เวลา 10.00-12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านหลบมุมวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้เกษตรกรผู้ปลูกผักสามารถที่จะจัดก
"ระบบข้อมูลกลางระยะที่ 3"วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา/มูลนิธิชุมชนสงขลา มทร.ศรีวิชัย ตัวแทนรพ.สต.ถ่ายโอนร่วมหารือการขับเคลื่อนระบบสนับสนุน:ข้อมูลกลาง ระยะที่ 3 ในการพัฒนาระบบบริการคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยในระยะพักพิง ผู้ป่วยในระยะกึ่งเฉียบพลันโดยร่วมกำหนดกรอบ TOR ใน 3 งานสำคัญได้แก่1.พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง www.Khonsongkhla.com1.1 วิเคราะ
วันที่ 9 เมษายน 2567 คณะทำงาน"โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง" (SUCCESS ควนลัง) ได้เข้าพบคณะทำงานศูนย์วิจัยภัยพิบัติทางธรรมชาติภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อขอทราบข้อมูลเรื่องการบริหารจัดการน้ำในเขตตำบลฉลุงและตำบลทุ่งตำเสา เพื่อนำมาใช้ในการขยายพื้นที่การทำงานโครงการฯไปสู่ตำบลฉลุงและตำบลทุ่งตำเสาที่เป็นพื้นที่ต้นน้ำคลองวาดและคลองต่ำซึ่งโครงการฯจะเน้นเรื่องการบริหารจัดกา
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย(TEI) ร่วมกับ มูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF) ศูนย์วิจัยภัยพิบัติทางธรรมชาติภาคใต้ คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน(กขป.)เขต 12 และมูลนิธิเครือข่ายเมืองภาคใต้เพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (SCCCRN) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ โเมือง (ไม่) รู้ร้อนรู้หนาว ภาคใต้เพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชนเมืองต่อภาวะโลกเดือดโภายใต้ โโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปล
"ห้องเรียนสุขภาวะชุมชนแหลมสนอ่อน"วันที่ 23 มีนาคม 2567 ทีมอสม.และแกนนำชุมชนแหลมสนอ่อน นัดหมายสมาชิกกลุ่มเสี่ยง/ป่วยที่สมัครใจร่วมปรับพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาวะจำนวน 21 คนร่วมคัดกรองสุขภาวะรายคน และเรียนรู้เรื่องโภชนาการ กับอ.พยอม ดวงภักดี นักโภชนาการ ณ ร้านน้องเมย์ โดยมีแกนนำชุมชนบาลาเซาะห์เก้าแสน ชุมชนสนามบิน เข้าร่วมกิจกรรมเริ่มด้วยคัดกรองสุขภาวะสมาชิก ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ส่วนสูง วัดค
"sandbox ต.ควนโส"วันที่ 22 มีนาคม 2567 ประชุมคณะทำงานศจพต.ควนโส ทีมงานรพ.สต.ตำบลควนโส อบต.ควนโส เกษตรตำบล อสม. พมจ. อบจ. สมัชชาสุขภาพจังหวัด ม.ราชภัฎสงขลา ณ อบต.ควนโส โดยมีปลัดอาวุโสอำเภอควนเนียงเป็นประธานการประชุมรอบเช้า1.คืนข้อมูลการทำแผนสุขภาวะชุมชน/กติกาชุมชนตำบลควนโส เพื่อรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติม-เพิ่มเติมตัวแทนอำเภอ ท้องถิ่น ท้องที่ เข้่าสู่สมาชิกในกลุ่ม iMed@homeเพื่อให้สามาร
"ประชุมทีม success บ่อยาง"วันที่ 19 มีนาคม 2567 คณะทำงานโครงการประกอบด้วยแกนนำชุมชนแหลมสนอ่อน สนามบิน บาลาเซาะห์เก้าแสน และมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมหารือการทำงานในกิจกรรมช่วงสุดท้าย1.เตรียมเนื้อหานำเสนอภาพรวมของกิจกรรมเมืองบ่อยาง 10 นาทีในการประชุมเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม 2567 ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง จ.สงขลา2.หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป2.1 ช่วงมีนาคม-เมษายน จัดกิจกรรมเสริมศักยภาพชุมชนโดยเฉพา
"ประชุมทีม Success เมืองพะตง"วันที่ 18 มีนาคม 2567 ประชุมทีมคณะทำงาน success เมืองพะตงหารือการทำงานในช่วงท้ายของโครงการ ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ1.เตรีียมเนื้อหานำเสนอในเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง สงขลา นำเสนอภาพรวมของการรับมือและปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเมืองพะตง จุดเน้นคือการใช้น้ำ จุดเด่นของงานที่ดำเนินการโดยเฉพาะการเก็บข้อมูลผ่าน GIS2.กิจกรร
"ประชุมทีมsuccess เมืองละงู"วันที่ 17 มีนาคม 2567 ประชุมทีมคณะทำงาน success เมืองละงู หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป ณ ห้องประชุมกลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา1.เตรียมเนื้อหาการนำเสนอในเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม ณ โรงแรมเบญจพร ในประเด็นการรักษาระบบนิเวศของคลองละงู จุดเน้นอยู่ที่การเปิดพื้นที่การทำงานร่วมกันบนฐานภูมินิเวศ ภูมิวัฒนธรรม ภูมิสังคม2.กิจกรรมช่วงท้ายของโครงการ2.1 เดือนมีนาคม-เมษายน งบ 2.8