
"sandbox ต.ควนโส"วันที่ 22 มีนาคม 2567 ประชุมคณะทำงานศจพต.ควนโส ทีมงานรพ.สต.ตำบลควนโส อบต.ควนโส เกษตรตำบล อสม. พมจ. อบจ. สมัชชาสุขภาพจังหวัด ม.ราชภัฎสงขลา ณ อบต.ควนโส โดยมีปลัดอาวุโสอำเภอควนเนียงเป็นประธานการประชุมรอบเช้า1.คืนข้อมูลการทำแผนสุขภาวะชุมชน/กติกาชุมชนตำบลควนโส เพื่อรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติม-เพิ่มเติมตัวแทนอำเภอ ท้องถิ่น ท้องที่ เข้่าสู่สมาชิกในกลุ่ม iMed@homeเพื่อให้สามาร

"ประชุมทีม success บ่อยาง"วันที่ 19 มีนาคม 2567 คณะทำงานโครงการประกอบด้วยแกนนำชุมชนแหลมสนอ่อน สนามบิน บาลาเซาะห์เก้าแสน และมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมหารือการทำงานในกิจกรรมช่วงสุดท้าย1.เตรียมเนื้อหานำเสนอภาพรวมของกิจกรรมเมืองบ่อยาง 10 นาทีในการประชุมเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม 2567 ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง จ.สงขลา2.หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป2.1 ช่วงมีนาคม-เมษายน จัดกิจกรรมเสริมศักยภาพชุมชนโดยเฉพา

"ประชุมทีม Success เมืองพะตง"วันที่ 18 มีนาคม 2567 ประชุมทีมคณะทำงาน success เมืองพะตงหารือการทำงานในช่วงท้ายของโครงการ ณ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ1.เตรีียมเนื้อหานำเสนอในเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง สงขลา นำเสนอภาพรวมของการรับมือและปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเมืองพะตง จุดเน้นคือการใช้น้ำ จุดเด่นของงานที่ดำเนินการโดยเฉพาะการเก็บข้อมูลผ่าน GIS2.กิจกรร

"ประชุมทีมsuccess เมืองละงู"วันที่ 17 มีนาคม 2567 ประชุมทีมคณะทำงาน success เมืองละงู หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป ณ ห้องประชุมกลุ่มออมทรัพย์บ้านโกตา1.เตรียมเนื้อหาการนำเสนอในเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม ณ โรงแรมเบญจพร ในประเด็นการรักษาระบบนิเวศของคลองละงู จุดเน้นอยู่ที่การเปิดพื้นที่การทำงานร่วมกันบนฐานภูมินิเวศ ภูมิวัฒนธรรม ภูมิสังคม2.กิจกรรมช่วงท้ายของโครงการ2.1 เดือนมีนาคม-เมษายน งบ 2.8

"ประชุมทีม success โตนดด้วน"วันที่ 16 มีนาคม 2567 คณะทำงานโครงการเมืองโตนดด้วนและมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมหารือการทำงานในกิจกรรมช่วงสุดท้าย1.เตรียมเนื้อหานำเสนอภาพรวมของกิจกรรมเมืองบ่อยาง 10 นาทีในการประชุมเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม 2567 ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง จ.สงขลาจุดเน้นการใช้ระบบนิเวศผ่านห้วยขี้ค่าง2.หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป2.1 ช่วงมีนาคม-เมษายน งบ4หมื่นประชุมทีมจัดทำป้ายกติกาห้

"ประชุมทีม success ปาดังเบซาร์"วันที่ 14 มีนาคม 2567 คณะทำงานโครงการเมืองปาดังเบซาร์และมูลนิธิชุมชนสงขลาร่วมหารือการทำงานในกิจกรรมช่วงสุดท้าย1.เตรียมเนื้อหานำเสนอภาพรวมของกิจกรรมเมืองบ่อยาง 10 นาทีในการประชุมเวทีภาคใต้ 28-29 มีนาคม 2567 ณ โรงแรมเบญจพร อ.เมือง จ.สงขลาจุดเน้นการรับมือ pm 2.52.หารือกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป2.1 ช่วงมีนาคม-เมษายน งบ2.5หมื่นจัดทำธงเตือนภัยจัดพิมพ์ชุดความร

สำรวจและทำผังมือชุมชนริมทางบ้านคลองปอม เทศบาลบ้านไร่พี่น้องชุมชนริมทางรถไฟ""เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังนำทีมโดย รองนายกและ สท.เพลินจิตร์ พ่วงแสง บันทึกเรื่องราว

"Sand box การจัดทำแผนสุขภาวะชุมชนและรายบุคคลแบบมีส่วนร่วม"การพัฒนามีไม่มากที่เริ่มด้วยการทำงานแบบทำร่วม ยิ่งน้อยไปอีกคือการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายดำเนินการเองฐานคิดเช่นนี้เอง นำมาสู่การออกแบบ Application ระบบกลุ่ม iMed@home ของมูลนิธิชุมชนสงขลา วางเป้าหมายไว้เพื่อเสริมหนุนให้ชุมชนและกลุ่มเป้าหมายสามารถนำไปใช้ดำเนินการเอง เป็นเจ้าของสุขภาวะของตน ที่สำคัญทำงานเชิงรุกกับกลุ่มเสี่ยง ไม่รอเป็นกลุ่ม

"Sand box ระบบสุขภาพปฐมภูมิโดยชุมชนมีส่วนร่วมในเขตเมือง"กรณีชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลา ผ่านการเรียนรู้และพัฒนา(DE)1.ค้นหาประเด็นวิกฤตด้านสุขภาพ นั้นคือ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่อยู่อาศัย หนี้สิน...ชุมชนเลือกดำเนินการเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง2.การกำหนดภาพฝันร่วมของประเด็นวิกฤตที่เลือก(3-5ปี)เป้าหมาย...กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยสามารถปรับพฤติกรรมเสี่ยง มีการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน และกำหนดกต

วันที่ 2 มีนาคม 2567วันแรกของกิจกรรมสรุปผลลัพธ์โครงการนำร่อง 6เมืองภายใต้งานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองsuccess พื้นที่ภาคใต้1)โครงการนำร่องบรรลุผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่อย่างไร วัดจากอะไร2)โครงการนำร่องลดความเปราะบางของชุมชนและเมืองได้อย่างไรบ้าง3)รูปธรรมความสำเร็จที่สุดของโครงการคืออะไร น่าสนใจอย่างไร4)สิ่งที่ยังทำไม่ได้และต้องทำต่อไปคืออะไร ให้ใครทำ...ทำเอง หรือหน่วยงา