"SUCCESS พะตง"วันที่ 15 มิถุนายน 2565 คณะทำงานโครงการ SUCCESS เมืองพะตง นำดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา และทีมงานมูลนิธิชุมชนสงขลา มูลนิธิ SCCCRN ลงพื้นที่ชุมชนบ้านหลบมุม ชุมชนแสนสุข และหมู่บ้านเด็กโสสะ อันเป็นพื้นที่ประเมินความเปราะบางเมืองพะตง เป็นพื้นที่ทำงานอย่างต่อเนื่องกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ตั้งแต่โครงการ ACCCRN ได้พัฒนาระบบเตือนภัยและแผนรับมือน้ำท่วมกับชุมชนต้นลุงและประธานคีรีวัฒน์ 10 ปีผ
"ความร่วมมือกับศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก"วันที่ 15 มิถุนายน 2565 โครงการ SUCCESS ประกอบด้วยสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา มูลนิธิ SCCCRN นำโดยดร.สมพร สิริโปราณานนท์ คุณสมโชติ พุทธชาติ และมูลนิธิชุมชนสงขลา เข้าพบผอ.ศูนย์อุตุนิยมวิทยาฯและทีมงาน เพื่อหารือความร่วมมือ ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของศูนย์ฯ มีข้อสรุปในการทำงานร่วมกันดังนี้
"วงอาหารเช้า ร่วมพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม iMedCare"วันที่ 16 มิถุนายน 2565 จากที่ประชุมกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา นำมาสู่การหารือตามวาระประจำปีที่จะทำเรื่องธุรกิจเพื่อสังคมให้เกิดความชัดเจน ดร.สมพร สิริโปราณานนท์ ในฐานะหัวหน้าทีมและกรรมการ ร่วมระดมความเห็น เบื้องต้นมีข้อสรุปดังนี้1.หลักการสำคัญ ธุรกิจเพื่อสังคม สนองตอบความยั่งยืน สามารถพึ่งตนเอง ของมูลนิธิชุมชนสงขลา แต่ไม่จำเป็นต้องดำเนินการโ
"ความร่วมมือกับโครงการชลประทานสงขลา"วันที่ 13 มิถุนายน 2565 คณะทำงานโครงการ SUCCESS เมืองควนลัง มูลนิธิชุมชนสงขลา และดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา จากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย เข้าพบ ผอ.โครงการชลประทานสงขลา ผอ.โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา เขต 16 และทีมงานเพื่อหารือความร่วมมือการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่โครงการ ณ ห้องประชุม 1 โครงการชลประทานสงขลาร่วมเรียนรู้โครงสร้างการทำงานของชลประทานในระดับพื้นที่ ขอบเขต
เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2565 คณะทำงานเมืองปาดังเบซาร์ เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ ลงพื้นที่หารือผลกระทบเมืองหน้าด่าน ร่วมกับ สภ.ปาดังเบซาร์ ด่านศุลกากร ผู้บริหารท้องถิ่นนำข้อศึกษาโครงการมาประกอบใช้ สู่แนวทางแก้ไขเชิงนโยบายต่อไปอรรตพล วิชิตพงษ์ บันทึกเรื่องราว
วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๕ ประชุมสามัญประจำปี ๒๕๖๔มูลนิธิชุมชนสงขลา กรรมการทั้งหมดรับรองผลการดำเนินงานปี ๒๕๖๔ทั้งนี้สิ้นสุด ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ มูลนิธิชุมชนสงขลามีรายได้ทั้งสิ้น ๔,๒๖๗,๒๕๒.๑๓ บาท และมีรายจ่ายรวม ๔,๑๙๐,๙๗๘.๕๘ บาท โดยจำแนกเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสาธารณประโยชน์ของมูลนิธิ จำนวน ๔,๐๕๗,๒๒๗.๔๔ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๐๗ ค่าใช้จ่ายเพื่อการจัดการมูลนิธิ ๑๓๓,๗๕๑.๑๔ บาท ดำเนินงานตั้งแต
ฟื้นฟูสร้างสรรค์ป่าต้นน้ำสงขลาวันที่ 19-20 มิถุนายน 2565เยาวชน ทสม. ผาดำ จับมือนักศึกษา ฟื้นฟูสร้างสรรค์ป่าต้นน้ำ ณ น้ำตกป่าต้นน้ำ ผาดำ อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลาให้ โป่าสมบูรณ์ ต้นน้ำสะอาด คนอยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืนโสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตในป่า เพื่อการฟื้นฟูรักษาป่าต้นน้ำด้วยการดูแลตนเองและช่วยเหลือกันและกันความร่วมมือร่วมใจ ปกปักษ์รักษาป่าต้นน้ำ ของผองเพื่อนชาวผาด
iMed@home คือแอพพลิเคชั่น จัดทำระบบข้อมูลกลางช่วยสนับสนุนการทำงานดูแลคนพิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มเปราะบางทางสังคม อย่างมีส่วนร่วม พัฒนาโดยมูลนิธิชุมชนสงขลาและโปรแกรมเมอร์ภาณุมาศ นนทพันธ์ โดยงบประมาณจากรัฐบาลผ่านมาทางสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)เมื่อปี 2560 และความร่วมมือผ่านการ MOU ร่วมกันระหว่างกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา อบจ.สงขลา พมจ.สงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา ฯลฯ รวม 11องค์กรความร่วมมือ
ช่วงเย็นของวันพุธที่ 8 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการชุมชนแหลมสนอ่อน 21/27 ถนนแหลมสนอ่อนอาจารย์เทพรัตน์ จันทพันธ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และ คุณชาญวิทูร สุขสว่างไกร สมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนสงขลาได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้กับตัวแทนชุมชนแหลมสนอ่อน ชุมชนพัฒนาใหม่ ชุมชนชัยมงคล ชุมชนศาลาเหลืองเหนือ ชุมชนสนามบินและชุมชนพานิชย์สำโรง เทศบาลนครสงขลาเพื่อร่วมกันค้นหาศักยภาพที่ค
"SUCCESS พบที่ปรึกษา"ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย จัดเวทีนำเสนอผลการศึกษาการประเมินความเปราะบางของเมืองในโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง SUCCESS ให้กับที่ปรึกษา ประกอบด้วย ดร.จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์ ศ.สุริชัย หวันแก้ว ผศ.ดร.ยรรยงค์ อินทร์ม่วง ให้ข้อเสนอแนะพี่เลี่ยงภาคอิสาน CSNM รศ.บัวพันธ์ พรหมพักพิง และ SCF ในส่วนภาคใต้ นำเสนอสาระสำคัญของสิ่งที่ค้นพบในพื้นที่ 12 เมือ