"BCG ระดับครัวเรือน"วันอาทิตย์ 26 มิถุนายน 2565 ห้องเรียนสวนผักคนเมืองประจำเดือนมิถุนายน มาเยือนสวนเบญจพฤกษ์ ร่วมถอดบทเรียนการส่งเสริมการปลูกผักอินทรีย์ระดับครัวเรือนในเขตเมือง โดยมีกระบวนการดังนี้1.กำหนดแนวทางส่งเสริมครัวเรือนในเขตเมือง ตามแนวทางดังนี้1.1 รับสมัครผู้สนใจ ในพื้นที่เขตเมือง เน้่นรายใหม่1.2 ผู้สมัครวิเคราะห์สภาพแวดล้อม วัสดุใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ ลักษณะพื้นที่/ขนาดพ
รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เข้าร่วมประชุมกับโคณะกรรมการพัฒนาเพื่อความมั่นคง ในระดับพื้นที่ เขตทัพเรือภาคที่2โ(พมพ.ทรภ2)และรู้สึกมีความหวังกับผลการประชุมที่ให้ความสำคัญกับ-การสร้างเครือข่าย ภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคประชาชน มาช่วยกันขับเคลื่อนเรื่องความมั่นคง-การบูรณาการ-งาน-เงิน-คน-การมีฐานข้อมูล ตัวชี้วัด ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน-การติดตามประเมินผลโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ-การคิดค้นนวัตก
กิจกรรมถอดบทเรียนโครงการสวนยางยั่งยืนสงขลาวันที่ 24 - 25 มิถุนายน 2565ณฐา ชัยเพชรบันทึกเรื่องราวขอบคุณภาพและข้อมูลจาก Facebookธรรมชาติ เพื่อชีวิตเชื่อมภาคีเครือข่ายสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน จ.สงขลาสรุปบทเรียนโครงการ พรุสวน ควน คลอง สู่ตลาดอาหารปลอดภัย และ สวนยางยั่งยืนสสส. Songkhla Node flagship วันที่ 24-25 มิ.ย. 65 โรงแรมบุรีศรีภู ถ.ศรีภูวนารถ อ.หาดใหญ่ บทเรียน ภาคี
วันที่ 24 มิถุนายน 2565 คุณสมภพ วิสุทธิศิริ นำทีมพยากรณ์ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใค้ฝั่งตะวันออก ประชุมร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา/4PW สงขลา ทำความเข้าใจความต้องการของชุมชนในโครงการ SUCCESS เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างศูนย์อุตุฯโครงการsuccess ภาคใต้และมูลนิธิชุมชนสงขลาได้แนวทางดังนี้1)จัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระดับชุมชนในพื้นที่เมืองบ่อยาง เมืองพะต
"Hatyai Care"วันที่ 23 มิถุนายน 2565 นัดทีมเล็ก จัดทำร่างแผนปฎิบัติการ 3 ปีของ 4 องค์กรความร่วมมือในพื้นที่ 10 ชุมชนริมทางรถไฟ ทน.หาดใหญ่ ประกอบด้วย ทน.หาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มูลนิธิชุมชนสงขลา และสมาคมอาสาสร้างสุข ณ ห้องประชุมสำนักงานมูลนิธิชุมชนสงขลาภายใต้ปัญหาสำคัญ ประกอบด้วยพื้นฐานการทำงานของชุมชน/ความสัมพันธ์ในชุมชน กรรมการชุมชน/แผนชุมชน ความต้องการวัสดุสิ้นเปลืองสำหรับผู้ป
โครงการ โพิทักษ์รักษาป่าต้นนำ้ผาดำเพื่อความยั่งยืนระบบนิเวศลุ่มนำ้ทะเลสาบสงขลาโสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสงขลา ร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา มูลนิธิอนุรักษ์ป่าต้นนำ้สงขลา เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสา โพิทักษ์รักษาป่าต้นนำ้ผาดำเพื่อความยั่งยืนระบบนิเวศลุ่มนำ้ทะเลสาบสงข
วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 เป็นอีก 1 วันและอีก 1 ความภาคภูมิใจ ของชาวชุมชนแหลมสนอ่อนที่ภาคภูมิใจในความเป็น " คนแหลมสนอ่อน" และ " คนเมืองบ่อยาง สงขลา" เมื่อ ดร.นพ. วิรุฬ ลิ้มสวาท ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะทำงานที่เดินทางมาในพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อน ได้บอกเล่าให้ภาคีเครือข่ายหลักของชุมชนคือ มูลนิธิชุมชนสงขลาและเทศบาลนครสงขลาโดยกองสาธารณสุขแ
"คลอง 1 ซร.1 ควนลัง"ระบบระบายน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมของหาดใหญ่ มีคลองขุดใหม่คือ คลอง ร.1 ดึงน้ำจากคลองอู่ตะเภาไปลงทะเลสาบ ในส่วนตำบลควนลังก็มีคลองขุดย่อยเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ คือ คลอง 1 ซร.1 ที่ดึงน้ำจากคลองต่ำ(ณ จุดที่มีประตูปิดเปิดน้ำของคลองต่ำก่อนไหลเข้าหาดใหญ่) มาพบกับน้ำจากคลองขุดที่ลากยาวมาจากต้นน้ำ ไหลไปออกคลองร.1คลองระบายน้ำนี้ด้านหนึ่งช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ แต่ด้านหนึ
"อีกด้านหนึ่งของเมืองสงขลา"กว่าครึ่งของ 55 ชุมชนเมือง ทน.สงขลา เป็นคนต่างถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยในพื้นที่ มีตั้งแต่ 1000 กว่าครัวเรือนจนถึงระดับไม่ถึงร้อยครัวต่อชุมชน กลุ่มประชากรเหล่านี้มาอาศัยที่ดินของราชพัสดุบ้าง การรถไฟบ้าง เจ้าท่าบ้าง วัดก็มี เอกชนก็มีเมื่อประสบเหตุภัยพิบัติ ความที่ไม่มีโฉนดที่ดินของตนเอง หน่วยงานเช่น ท้องถิ่น หรือส่วนงานอื่นไม่สามารถเข้าไปช่วยเหลือดูแลได้ตามสิทธิ์ที่พึงมีช
"วงอาหารเช้า ร่วมพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม iMedCare"จากมติที่ประชุมกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา นำมาสู่การหารือตามวาระประจำปีที่จะทำเรื่องธุรกิจเพื่อสังคมให้เกิดความชัดเจน ดร.สมพร สิริโปราณานนท์ ในฐานะหัวหน้าทีมและกรรมการ ร่วมระดมความเห็น เบื้องต้นมีข้อสรุปดังนี้1.หลักการสำคัญ ธุรกิจเพื่อสังคม สนองตอบความยั่งยืน สามารถพึ่งตนเอง ของมูลนิธิชุมชนสงขลา แต่ไม่จำเป็นต้องดำเนินการโดยใช้หัวมูลนิธิชุมชนสงขลา ผ