"หลักสูตรนานาชาติ"วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ โครงการฝึกภาคสนามในต่างประเทศ หลักสูตรศิลปศาสตร์ สาขาการพัฒนาระหว่างประเทศ ม.จุฬา นำนักศึกษาต่างชาติ ป.โท ป.เอก จำนวน๒๑ ชีวิต จากเยอรมัน เกาหลี ญี่ปุ่น พม่า เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย มาดูงานมูลนิธิชุมชนสงขลา ร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมของพื้นที่ จ.สงขลา โดยมีคุณชิต ประธานมูลนิธิชุมชนสงขลามาต้อนรับและคุณสมพรมาร่วมนำเสนอ
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ดำเนินงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อการเปลี่ยนแปลงเมือง(Strengthening urban climate governance for inclusive, resilient and sustainable societies in Thailand) หรือเรียกง่ายๆว่า โครงการSUCCESS ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรปวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ นัดประชุมสร้างความร่วมมือกับนักวิชาการใน ๖ สถาบันหลักของภาคใต้๑.แนะนำโครงการ ที่มุ่งเน้นการดำ
มูลนิธิชุมชนสงขลา พัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายตำบลภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ร่วมนำเสนอแนวทางกิจกรรมที่จะต่อยอดงานธรรมนูญตำบลน่าอยู่ตอบสนองเป้าหมายวิสัยทัศน์สงขลา ๒๕๗๐ ดังนี้๑)ด้านสังคมเป็นสุข-ทต.ท่าช้าง ตั้งใจทำเรื่องธนาคารเวลา เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง และประสบปัญหาสุขภาพจิตไม่สามารถอยู่ร่วมในสังคม โดยให้
"สวนป้าเถี้ยน"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองหาดใหญ่สัญจรประจำเดือนมกราคม จัดทัวร์สุขภาพลงเยี่ยมแปลงสวนป้าเถี่ยน ม.๙ ต.คูเต่า สมาชิกเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา เป็นอีกหนึ่งแปลงที่ได้รับใบรับรอง SGS-PGSป้าเถี้ยนและไก่-ลูกชาย เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์คูเต่า รวมตัวกันปลูกผักอินทรีย์มาหลายปี ปู-วัลลภแกนนำเล่าว่าต.คูเต่าอยู่ปลายน้ำของลุ่มน้ำอู่ตะเภา ที่มีอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร ผัก ผลไม้(ส้มโอ อ้อ
"จากตลาดกรีนโซนไปสู่ south story ของดีชายแดนใต้และกรีนสมาย"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองกว่า ๒ ปีที่ตลาดกรีนเวย์ บริษัทประชารัฐฯสงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา เครือข่ายเกษตรอินทรีย์สงขลา พัฒนาชุมชน เกษตรและสหกรณ์ และเครือข่ายอีกจำนวนมากที่ไม่อาจเอ่ยถึงได้หมด ร่วมกันเปิดตลาดกรีนโซน@กรีนเวย์ หวังเป็นช่องทางสนับสนุนเกษตรกรให้มีพื้นที่จำหน่ายผลผลิตดีๆ และผู้บริโภคในเมืองมีทางเลือกมากขึ้น แล้วก็ถึงวันของการเป
"วิจัยและสร้างนวัตกรรมพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองอีกความเคลื่อนไหวทางสายวิชาการที่ถูกปรับการทำงานให้แตกต่างจากเดิมสำนักวิจัยและพัฒนา มอ.ชวนไปร่วมเสนอแนะการทำกรอบงานวิจัย ตามโจทย์ใน Platform ๔ "วิจัยและสร้างนวัตกรรมพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ" โปรแกรม ๑๓ : นวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม โดยมอ.แต่ละวิทยาเขตเป็นเจ้าภาพร่วมกับเครือข่ายต่างๆ
"ผักสลัดของคุณเล็ก"คุณเล็ก จงกลณี สมาชิกสวนผักคนเมืองหาดใหญ่ใช้เวลายามว่างเปลี่ยนพื้นที่ว่างข้างบ้านมาเป็นสวนไม้ประดับและไม้ประแดก ปลูกผักหลากหลายแซมกับไม้ดอก สร้างสวนสวยไว้เป็นอาหารตาและอาหารปากลดขยะในครัวเรือนแถมพกไปถึงขยะในตลาดนำมาเป็นวัสดุในการทำปุ๋ย ทำน้ำหนัก แล้วทั้งหมดนี้ก็แปรรูปออกมาเป็นสวนผักอินทรีย์ชานเมืองรอบนี้คุณเล็กปลูกผักสลัด ใช้กระเบื้องมาวางเป็นแปลงผักแบบยกพื้น ปลูกสลัดลงในก
นานๆครั้งจะได้มาเมืองไทย Christain Birkholz อาจารย์ฟากประชาสังคมจากเยอรมันมีโอกาสมาถึงสงขลา สองวันแรกมูลนิธิชุมชนสงขลาเลยพาไปปีนัง แล้วผ่านไปเมืองเก่า ก่อนที่จะชวนมาชมวัดฉื่อฉาง แล้วก็ร่วมแลกเปลี่ยนการพัฒนาเมืองหาดใหญ่ร่วมกับเครือข่ายนักวิชาการจากมทร.ศรีวิชัยที่กำลังวิจัยเรื่องการส่งเสริมอาหาร streetfood ในชุมชนตั้งวงแลกเปลี่ยนกันหลายเรื่อง Christain บอกว่าวัดแห่งนี้เปี่ยมพลัง น่าสนใจ ตัวเขาเองก
ธรรมนูญตำบลน่าอยู่ ทม.ปาดังเบซาร์วันที่ 12 มกราคม 2563 จากการจัดทำธรรมนูลตำบลน่าอยู่ คณะทำงานร่วมกับ จส.100 / ธ.กรุงเทพ / รพ.ปาดังเบซาร์ / สภาองค์กรชุมชน / ชมรมเพื่อนพึ่งพิง /ผู้สูงอายุ /ชมรมมุสลิมบุหลันแดง และแกนชุมชนร่วมดำเดินกิจกรรมตามกติกา ที่วางร่วมกัน และร่วมมอบรถวิลแชร์ (ให้ยืม)จำนวน 10 คัน แก่ผู้เปราะบางทางสังคมและตรวจสุขภาพ เยี่ยมเยียนให้กำลังใจกันรายงาน Atta&nbs
"ธรรมนูญชุมชน"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองไม่ว่าจะปรากฏนามภายใต้ชื่อใด..ธรรมนุญสุขภาพ ธรรมนูญสุขภาวะ ธรรมนูญตำบล ฯลฯ สำหรับผมแล้วมันมีความหมายเดียวที่โดดเด่นที่สุดธรรมนูญพื้นที่เปรียบไปก็คือ ช้างเผือกในป่างาม หาใช่ช้างเลี้ยงทั่วไป การมีกติกาหรือนโยบายสาธารณะที่เกิดขึ้นจากพื้นที่ กำเนิดจากการมีส่วนร่วมและรู้สึกเป็นเจ้าของจะทำให้เกิดธรรมนูญที่แตกต่างหลากหลาย มิได้เป็นภาพพิมพ์สำเร็จรูปการทำให้นโ