ประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองละงูเดินคนเดียวอาจเดินได้ไวแต่ถ้าจะเดินให้ไกลต้องเดินไปด้วยกันโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(SUCCESS) มีวัตถุประสงค์เพื่อหนุนเสริมความเข้มแข็งขององค์กรภาคประชาสังคมในการสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการเมืองเพื่อเตรียมความพร้อมและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศวันนี้เป็นการเจอกันครั้งแรกของภาคส่วนต่างๆ ในการแลกเปลี่ยนและมีข้อเสนอแนะ
ประชาสังคมร่วมแรงเปลี่ยนแปลงเมืองควนขนุนสายน้ำสายชีวิตและสายสัมพันธ์ของผู้คนชุมชนคนโหนดด้วนตัวแทนชุมชนเมืองควนขนุนในพื้นที่มองว่า การพัฒนาใดๆ ก็ตามต้องมีพื้นฐานมาจากความรักความเข้าใจ และความสามัคคีของคนในชุมชน โดยต้องฟื้นฟูความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให้กลับคืนมาก่อน เชื่อมโยงไปสู่การจัดการน้ำ ทั้งน้ำแล้งและน้ำท่วม ซึ่งส่งผลกระทบกับชุมชนอย่างมากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา รวมทั้งการเชื่อมโยงในการพัฒนาคุ
"เมืองโตนดด้วน"วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ทีมงานเมืองควนขนุนและเครือข่าย ประกอบด้วย ทต.โตนดด้วน รพ.สต. สสอ. ประธานอสม. ชมรมจักรยาน สมาคมสร้างสุขชุมชนคนเมืองลุง สมาคมพัฒนาคนพิการทางการเคลื่อนไหวจังหวัด ผญบ.ต.โตนดด้วน ต.ชะมวง นัดประชุม ณ รพ.สต.โตนดด้วน อ.ควนขนุน จ.พัทลุงหลังจากรับฟังการแนะนำโครงการ SUCCESS ที่ประชุมให้ข้อเสนอแนะการทำงานร่วมกันได้ข้อสรุป๑.ตำบลแกนกลางได้แก่ ต.โต
"เมืองละงู"วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ทีมงานสตูลประสานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ลุ่มน้ำละงู อบต.กำแพง อบต.แหลมสน อบต.ละงู รพ.ละงู อบต.ปากน้ำ ชุมชน ประธานอสม. โรงเรียนเอกชน เครือข่ายรับมือภัยพิบัติต.ละงู สมาคมผู้บริโภคสตูล ประชุมร่วมกัน ณ อบต.กำแพงมูลนิธิชุมชนสงขลา ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ แนะนำวัตถุประสงค์สำคัญ แนวคิดการดำเนินการที่ต้องการหนุนเสริมภาคประชาสังคมให้มีบทบาทรับมือผลกระทบการเปลี
"เมืองควนลัง"โครงการ SUCCESS โดยการสนับสนุนจากสหภาพยุโรป ประสานทีมงานเมืองควนลังและเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมรับรู้แนวคิด แนวทางและร่วมให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงานโครงการ ณ ห้องประชุมทม.ควนลัง ประกอบด้วยทีมงานกองสาธารณสุข กองสวัสดิการสังคม กองช่าง ทม.ควนลัง รองประธานชุมชน เครือข่ายเกษตรสุขภาพตำบล ชมรมผู้สูงอายุ ประธานอสม. กลุ่มสตรี ข้าราชการเกษียณมูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะผู้รับผิดชอบในพื้
SLD ประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองควนลังภายใต้การดำเนินงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (SUCCESS) พื้นที่เมืองควนลัง โดยมีภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมประชุมเพื่อทำความเข้าใจการทำงานร่วมกัน เช่น วิสาหกิจชุมชนเกษตรสุขภาพควนลัง อสม.ควนลัง คณะกรรมการกลุ่มบทบาทสตรี ชมรมผู้สูงอายุ เครือข่ายเกษตรสุขภาพ เทศบาลเมืองควนลัง ชุมชนทุ่งลาน ชุมชนบนควน&nbs
วิถีชีวิตชุมชนแหลมสนอ่อนที่กำลังจะมีการนำเสนอแก่แขกผู้มาเยือน โดย เทศบาลนครสงขลาวิถีแรก คือ แปลงตำลึงและผักสวนครัวข้างบ้านที่ลุงๆป้าๆ เบิกบานในการปลูก การดูแลและบริโภควิถี 2 คือ ขวดขยะ ภาษาปะกิดเรียกว่า Eco brick เป็นการคัดแยกขยะครัวเรือน ทึ่เป็นขยะแห้ง ขวดขยะนี้เราคาดว่าจะนำมาผลิตเป็นของใช้ในบ้าน ในสวนวิถี 3 คือ ปิ่นโตตุ้มตุ้ย ซึ่งรอบนี้จะมาในแนวบริจาคข้าวต้มรสจืด เพื่อลดระดับน้ำตาลใน
สวนเบญจพฤกษ์ป้าทุม ลุงยูร ใช้ชีวิตวัยเกษียณอย่างเต็มคุณค่า ปลูกผักแบบสวนผักคนเมืองหลากหลายรูปแบบ จัดการขยะเปียกมาทำปุ๋๋ย ใช้น้ำหมักชีวภาพปรุงดินพร้อมปลูก NPK หาได้จากรอบตัว ปรับสภาพดินไปทีละจุด หรือไม่ก็ทำแบบยกแปลงใหม่ ช่วงหลังไม่อยาก้มจึงหันมาทำผักยกแคร่ทำไป เรียนรู้ไป จนเกิดประสบการณ์ กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ให้คนสนใจเมื่อจัดระบบลงตัว สวนผักจึงกลายเป็นสวนปราณีต ชวนชม ชวนมอง ค่อยๆแต่งเติมไปทีล
"ชึวิตสีเขียวอ่อน"14 กุมภา 64 สมาชิกชุมชนแหลมสนอ่อนประมาณ 40 กว่าชีวิต ตื่นเช้าลุกขึ้นมาพัฒนาพื้นที่ชุมชนให้สะอาด น่าอยู่ โดยแบ่งกันเป็น 2 ทีมคือ ทีมเบื้องหน้า ถือไม้กวาด มีดพร้า และจอบเสียมออกแรงพัฒนาพื้นที่รอบๆชุมชน กับ ทีมเบื้องหลัง(ไม่ปรากฎในรูป)ช่วย พัฒนาอยู่ที่บริเวณบ้านของตนเอง แต่ก็ยังมีน้ำใจส่งเสบียงมาหนุนเสริมทีมเบื้องหน้าตั้งแต่อาหารมื้อเช้า น้ำดื่ม น้ำอัดลม และขนุนสุกจากต้น เพื
15 กพ. 64 โครงการบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืน ปีงบฯ 2564 กับกิจกรรมการขายขยะทุกวันที่ 15 เพื่อสมทบโกองทุนช่วยเหลือคนยากลำบากตำบลนาหว้า.โวันนี้ได้เงิน 1,260 บาท (เงินกองทุนรวมทั้งสิ้น ประมาณ 4,000 กว่าบาท)ขอบคุณทุกความร่วมมือCr.อภิชัย เกื้อก่อบุญธรรมนูญตำบลน่าอยู่ตำบลนาหว้า.