"Platform iMed@home ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน"ในที่สุดก็เป็น ๑ ใน ๑๐ องค์กรที่ผ่านการสนับสนุนจากอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย รับงบไปดำเนินการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน หรือ Home care giverขอบคุณดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย คณะพยาบาลศาสตร์ มอ. ที่มาจับมือกับมูลนิธิชุมชนสงขลา พัฒนาธุรกิจเพื่อสังคมร่วมกัน จากนี่้จะร่วมกับเครือข่ายพัฒนาต้นแบบในสงขลาก่อนขยายไปที่อื่นต่อไป
"การบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน"บทเรียนการดำเนินงานคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน(กขป.) เขต 12 พบว่าหากต้องการประสานทรัพยากร ลดช่องว่างการทำงานในเชิงพื้นที่ ซึ่งยังแยกส่วนต่างคนต่างทำ สามารถดำเนินการได้ โดยมีแนวทางสำคัญดังนี้1)การทำงานร่วมในลักษณะ เก้าอี้ 4 ขา เพื่อสร้างความต่อเนื่องในการทำงาน เสริมหนุนกันได้ โดยมีภาคส่วนสำคัญที่มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholder)เข้ามาทำงานร่วมกัน ได้แก่ ส่วนภูม
"SUCCESS ภาคใต้"วันที่ 20 เมษายน 2564นัดแกนนำเมือง 6 เมืองของภาคใต้ ได้แก่ เมืองละงู เมืองโตนดด้วน เมืองบ่อยาง เมืองควนลัง เมืองพะตง เมืองปาดังเบซาร์ ประชุมทางไกลผ่านระบบ Zoom นำเสนอโครงการประเมินความเปราะบางของเมืองฯ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะดำเนินการในปีที่ 2 ของโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อการเปลี่ยนแปลงเมือง(SUCCESS) โดยการสนับสนุนของสหภาพยุโรป และมีสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยรับผิดชอบ ร่วมกับมู
"ภาคีสงขลาเตรียมพร้อมรับ PM2.5 ในระดับชีวิตประจำวัน"วันที่ 26 มีนาคม 2564 ประชุมแกนคณะทำงาน PM 2.5 สงขลาแม้สถานการณ์ PM2.5 ในพื้นที่จะไม่รุนแรง แถมปีที่ผ่านมายังมีอากาศดีติดอันดับ 5 ของประเทศ แต่ภาคีเครือข่ายเห็นตรงกันว่าจะต้องเตรียมความพร้อมรองรับ โดยให้มีมาตรการสำคัญๆก็คือ1.พัฒนากลไกการทำงานในรูปแบบเครือข่าย โดยมีทีมระดับปฎิบัติการจากภาคส่วนต่างๆ อาทิ สนง.สิ่งแวดล้อมภาค 16 ปภ. ทสจ. อุตสาหก
ประชุมกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลาประจำเดือนมีนาคม 2564วันที่ 29 มีนาคม 2564รอบนี้นำเสนอร่างแนวทางการพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคมที่กำลังดำเนินการอยู่ 2 ตัว คือ1)การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน ผ่านแอพพลิเคชั่น iMed@home ซึ่งดำเนินการร่วมกับคณะพยาบาลม.อ. กำลังขอการสนับสนุนจากอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยกรรมการสนับสนุนการดำเนินงาน มองเห็นความเป็นไปได้ ขั้นตอนต่อไปจะประชุมกลุ่มย่อยกับผู้ม
"การประเมินความเปราะบางของเมือง" ภายใต้โครงการSUCCESS ปีที่21.คัดเลือกพื้นที่เมือง>ชุมชน>กลุ่มบุคคลเปราะบาง>องค์กร/หน่วยงาน2.วิเคราะห์สถานการณ์/ความเปราะบาง-สถานการณ์ด้านสังคมและการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน(ดูเครื่องมือการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืนประกอบ)-ระบบโครงสร้างพื้นฐาน ระบบนิเวศวิทยา แผน/นโยบาย/วิธีปฎิบัติ-ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(ตามปัญหาที่พบ) ศึกษาการเตรียมความพร้อม ก
"SUCCESS เมืองควนลัง"วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔SLD ประชุมคณะทำงานเมืองควนลัง จัดทำข้อเสนอโครงการศึกษาประเมินความเปราะบางของเมืองภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงเปลี่ยนแปลงเมืองควนลัง ภายใต้การสนับสนุนของสหภาพยุโรปผ่านมาทางสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โดยมีมูลนิธิชุมชนสงขลารับผิดชอบในส่วนพื้นที่ภาคใต้เมืองควนลัง มีพื้นที่หลักคือทม.ควนลัง แต่กินพื้นที่ไปถึงทม.ทุ่งตำเสา อบต.ฉลุง ตามสภาพปัญหาการบริหารจัดก
การจัดทำแผนการผลิตของกลุ่มเกษตรสุขภาพหาดใหญ่วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔ นักศึกษาม.ทักษิณ ร่วมนำเสนอข้อมูลผลการศึกษา เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนนโยบายเกษตรและอาหารสุขภาพจังหวัด โดยใช้การวิจัยศึกษารูปแบบการวางแผนการผลิตเพื่อสนับสนุนตลาดเกษตรอินทรีย์ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเกษตรสุขภาพอำเภอหาดใหญ่และตลาดรถเขียว แนวทางที่ได้จะนำไปขยายผลในแอพพลิเคชั่น Greensmile และการทำงานกับกลุ่มเกษตรกรอื่นต่อไปกรณ
"SUCCESS เมืองพะตง"วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๔ ประชุมคณะทำงานเมืองพะตง ภายใต้โครงการ SUCCESS กิจกรรม ๑.๓ เพื่อยกร่างข้อเสนอโครงการประเมินความเปราะบางของเมืองพะตง ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติหนึ่งในพื้นที่ประกาศตัวไม่เป็นรพ.สต โดยมีเครือข่ายอปท. โรงงาน โรงเรียน ท้องที่ อสม. ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเกษตรกร ศิลปินพื้นบ้าน เข้าร่วมกำหนดแนวทางดำเนินงาน๑.บทบาททีมงาน จะมีประธานสภาองค์กรชุมชนตำบลพะตงเป็นห
"SUCCESS เมืองบ่อยาง"วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔ นัดคณะทำงานเมืองบ่อยางมายกร่างข้อเสนอโครงการประเมินความเปราะบางของเมือง เป็นกิจกรรมในปีที่ ๒ ของโครงการ SUCCESS ภายใต้การสนับสนุนของสหภาพยุโรป โดยการรับผิดชอบของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และมูลนิธิชุมชนสงขลาสรุปแนวทางสำคัญที่จะดำเนินการดังนี้๑.จุดเน้นของเมืองบ่อยาง ที่มีเทศบาลนครสงขลาเป็นพื้นที่หลัก ทำกิจกรรมกับคนจนเมือง ศึกษาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงส