
ลับลวงพราง วัคซีนโควิด ตอน 1 : 29-05-64เกิดอะไรขึ้นกับหมอพร้อม จึงต้องปิดตัวลงอย่างฉับพลันรัฐบาลสั่งยุติการลงทะเบียนในหมอพร้อม บำราศนราดูรเลื่อนนัดการฉีดแอสตร้าออกไปก่อน หลังจากนั้น รมต.อนุทินก็แถลงว่า วัคซีนมีแน่ ยี่ห้อไหนก็ป้องกันโควิดได้ แถมด้วยข่าวราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์จะนำเข้าวัคซีนซิโนฟาร์มมาขาย เท่านี้แหละ ความปั่นป่วนก็เกิดในทันทีปัจจุบัน คนไทยคาดหวังกับการมีวัคซีนโควิดฉีดอย

"SUCCESS กิจกรรม 1.3"วันที่ 5 กรกฎาคม 2564 โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (SUCCESS) ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรป ซึ่งมีพื้นที่ดำเนินการ 6 เมือง คือ เมืองพะตง เมืองบ่อยาง เมืองปาดังเบซาร์ เมืองควนลัง จ.สงขลา เมืองละงู จ.สตูล และเมืองโตนดด้วน จ.พัทลุง นัดประชุมคณะทำงานร่วมกันกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) และมูลนิธิชุมชนสงขลาได้เห็นภาพรวมของข้อเสนอโครงการศึกษาการประเมินความ

"๖ ปี ปลูกผักบนดาดฟ้า : ความรู้คู่คุณน่ะทำ"คุณเจริญวุฒิ ไตรสุวรรณ สถาปนิกอิสระ ต้องการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ พร้อมกับแก้ปัญหาของอาคารที่พักกลางเมืองหาดใหญ่ เริ่มผุดแนวคิดปลูกผักบนดาดฟ้าบนตึกเมื่อ ๖ ปีก่อน ด้วยความต้องการหาอะไรคลุมหลังคาไม่ให้อาคารร้อนเกินไปบวกกับต้องการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน คุณเจริญวุฒิเริ่มต้นด้วยการติดตั้งโครงเหล็ก ลองใช้ระบบการปลูกผักแบบไฮโดรโปรนิกส์ ทว่าต่อมาทำ

"๑ ปี การปลูกผักสลัดอินทรีย์สวนผักภูธาร"สวนผักภูธาร โดยคุณเล็ก-จงกลนี นี แมคแอลลิกอล เริ่มความสนใจปลูกผักอินทรีย์เพื่อบริโภคในครัวเรือน เรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกเหมือนกับการทดลองวิทยาศาตร์ในทุกขั้นตอนการผลิต การตลาดเริ่มต้นจากการเรียนรู้ผ่านบูธนิทรรศการสวนผักคนเมืองในงานเกษตรภาคใต้ จุดประกายความคิด และได้กลับมาลองปลูกที่บ้าน ลองผิดลองถูกทั้งเรียนผ่านยูทูปและเพื่อนสมาชิกสวนผักคนเมือง และแห

วันนี้ (24 มิถุนายน 2564) มาร่วมดูงานการบริหารจัดการขยะฐานศูนย์ ที่เทศบาลตำบลปริก ตามแนวนโยบายพระราชดำริ ร.9 เศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGsโดยเน้นการพัฒนาคน ทำงานเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน(ทต. มัสยิด ร.ร. )ในการจัดการขยะในครัวเรือน ได้เห็นความตั้งใจของทต.ปริกและชุมชน ที่เห็นความสำคัญจนเกิดเป็นพฤติกรรมการจัดการขยะในแต่ละวันของแต่ละครัวเรือนขอบคุณที่รักโลกเก็บโลกไว้ให้ลูกขอบ

ต่อยอดสู่ความยั่งยืนวันที่ 24 มิถุนายน 2564 เครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงอำเภอรัตภูมิ ขยายผลจากตลาดกรีนปั้นสุขโรงพยาบาลรัตภูมิ สู่ตลาดชุมชน โดยปีนี้มีการวางแผนขยายผลในพื้น 5 ตำบล เต็มพื้นที่อำเภอรัตภูมิเพื่อส่งเสริมระบบเกษตรอินทรีย์และจุดแลกเปลี่ยนผลผลิตในชุมชนและระหว่างตำบลภายใต้ความร่วมมือการสนับสนุนของหน่วยจัดการระดับจังหวัดสงขลา (Node flagship songkhla) สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืน

"ชุด care set รับมือโควิด"มูลนิธิชุมชนสงขลาดำเนินการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางทางสังคมผ่านโครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนประจำปี 2564 โดยการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา จัดชุด care set ร่วมให้กำลังใจผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดระลอกใหม่ให้กับเครือข่ายธรรมนูญตำบลน่าอยู่จำนวน 6 ตำบล(ชุดแรก) ได้แก่ ต.ป่าขาด ต.โคกม่วง ต.บ่อยาง ต.ปาดังเบซาร์(ทม.) ต.คูหา

"การจัดเลี้ยงแบบบริการตนเองในงานพิธี"นับเป็นกรณีตัวอย่างการทำธรรมนูญระดับจังหวัด ในการจัดเลี้ยงแบบบริการตนเองในงานพิธีต่างๆโดยเฉพาะงานศพของจังหวัดสงขลา จัดเป็นตัวอย่างข้อตกลงระดับจังหวัดที่สามารถดำเนินการจนกลายเป็นเรื่องที่อยู่ในวิถีปกติของผู้คนด้วยเป้าหมายสร้างค่านิยมใหม่ลดความหน้าใหญ่ใจเติบของการจัดเลี้ยงแบบคนใต้ ตามแนวทางของยุทธศาสตร์การสร้างค่านิยมร่วมของวาระพลเมืองของสมัชชาสุขภาพจังหวัดสง

"iMedcare"ประชุมทีม iMedcare กำหนดแนวทางดำเนินงานในช่วง ๓ เดือนจากนี้iMedcare จะเป็น Application ใหม่ที่แตกยอดออกจาก iMed@home ดำเนินการร่วมกันระหว่างมูลนิธิชุมชนสงขลา ดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.และเครือข่ายโดยการสนับสนุนจากอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ภายใต้โครงการพัฒนานวัตกรรมการแพทย์ดิจิทัลสำหรับการแก้ปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์

วันที่ 24 พ.ค.64 พี่อ้น-บุณย์บังอร ศูนย์บ่อยางพึ่งพาตนเอง เล่าว่าปิ่นโตตุ้มตุ้ยเริ่มอย่างเป็นทางการ ด้วยปิ่นโต 11 เถา เลี้ยง 30 ชีวิต ในจำนวนนี้เป็นคนไม่มีบัตรประชาชน ไม่มีเลข 13 หลัก จำนวน 3 คนเมนูอาหารคือ ข้าสวยนึ่งคนละ 2 ถ้วย แกงส้มปลาดุกหน่อไม้(หลังบ้านพี่อ้น) และที่ชอบกันมากคือ ปลาตากแห้งทอดกรอบ หอมอร่อย ตบท้ายความสดชื่นด้วย "ชาโบราณบีบมะนาวสด" เฉลี่ยค่าอาหารรายหัวของวันนี้ประมา