
วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๖๔"หาดใหญ่ sandboxplus : ๙ เดือน ๙"ภาคเช้า ทีมเข้าประชุมร่วมกับนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่ สสอ. ภาคเอกชน หารือแนวทางดำเนินการต่อไป๑.นายกสาครแจ้งว่าสถานการณ์ของเทศบาลนครหาดใหญ่ รายได้ลดลง ๔๐๐ ล้านบาทจากการขาดหายไปของการจัดเก็บภาษีจากมาตรการต่างๆของภาครัฐ ทางเทศบาลกำลังเตรียมรับมือน้ำท่วมไปพร้อมกับรับมือโควิดที่มีศูนย์บริหารจัดการโควิด ปัจจุบันมีรถบริการ ๕ คันที่พร้อมอำนวยความสะด

วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔"เอกชน ประชาสังคมสงขลา-หาดใหญ่หาทางรับมือโควิด"สถานการณ์โควิดระลอก ๓ ระบาดหนักจนทำท่าว่าจะเอาไม่อยู่ สงขลาเป็น ๑ ในพื้นที่แดงเข้ม มีแนวโน้มสถานการณ์จะตามกทม.มาอย่างใกล้ชิด ทำให้หลายเครือข่ายไม่อาจนิ่งนอนใจ ชวนกันมาวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อหาทางรับมือ๑.สถานการณ์การแพร่ระบาด ตัวเลขผู้ป่วยมีแนวโน้มจะรุนแรงขึ้้นอีก และยังไม่มั่นใจว่าจะเป็นตัวเลขจริง ด้วยตรวจคัดกรองน้อย ตัวเลข

วันที่ 30 กรกฎาคม 2564 พอช. ชวนมูลนิธิชุมชนสงขลาไปร่วมมือกันทำงานทั้งรับมือโควิดในช่วงนี้และงานการดูแลที่อยู่อาศัยของเมืองสงขลา ณ ศาลาการเปรียญวัดหัวป้อมนอก โดยมีทีมพอช.ภาค รองนายกทน.สงขลา นายกทม.เขารูปช้าง ศูนย์บ่อยางพึ่งพาตนเอง เครือข่ายบ้านมั่นคง มีข้อสรุปดังนี้1.เป้าหมายความร่วมมือ1.1 ระยะสั้น แก้ปัญหาความเดือดร้อนของชุมชนในพื้นที่สีแดงจากปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด 19 ซึ่งเมืองสงขลาเป

"กิจกรรมหาดใหญ่ Smart&Clean สถานที่ปลอดภัยสำหรับคนปลอดภัย"วันที่ 10 กันยายน 2564 ผ่านไป 1 วันหลังแถลงข่าว ทีมงานนัดสรุปบทเรียนและติดตามงาน มีข้อสรุปสำคัญ1)ยังมีความเข้าใจกิจกรรมหาดใหญ่ Sandbox Plus ไปเทียบเคียงกับภูเก็ต sandbox โดยไม่ได้ดูรายละเอียด เห็นแต่ข้อความ มีข้อเสนอแนะทางแก้1.ให้ทำสื่ออธิบายเปรียบเทียบความต่างให้ชัดเจน 2.ชูกิจกรรมหาดใหญ่ Smart&Clean ตามด้วยร้านอาหารและเคร

"Hatyai Care ชุมชนปลอดภัย ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง"กิจกรรม Hatyai Care เป็น 1 ในกิจกรรม หาดใหญ่ Sandbox Plus นัดประชุมทีมนัดแรก กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานองค์กรความร่วมมือที่จะเสริมเทศบาลนครหาดใหญ่ เบื้องต้นประกอบด้วย หอการค้าจังหวัดสงขลา พมจ. คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ. ศูนย์อาสาสมัครมอ. มูลนิธิชุมชนสงขลา สมาคมอาสาสร้างสุข สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทยสงขลากำหนดเป้าหมายระยะสั้น1.ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ลดความเ

"หาดใหญ่ Sandbox Plus เฟส 2"ประชุมทีมยุทธศาสตร์ มีข้อสรุปสำคัญตามนี้1)คุณสมพร สิริโปราณานนท์ แจ้งผลการเข้านำเสนอโครงการหาดใหญ่ Sandbox Plus ร่วมกับนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่ในที่ประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจังหวัดสงขลา ได้รับความเห็นชอบอนุมัติให้ดำเนินการ ให้รีบขับเคลื่อนเพิ่มกลุ่มเป้าหมายในเฟสที่ 2 ให้มากขึ้นพร้อมเร่งจัดส่งรายชื่อ เพื่อขอสนับสนุนวัคซีนและส่งโครงการเข้าสู่ส่วนกลางเพื่อขออนุมัติวัคซีน

"เตรียมงานวันพลเมืองสงขลา ปี 64"วันที่ 11 กันยายน 2564 นัดองค์กรความร่วมมือการทำงานในพื้นที่สงขลา ที่ร่วมกันดำเนินงานวันพลเมืองด้วยกันในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทั้งต่อข้อมูลความเคลื่อนไหวในการทำงาน สถานการณ์โควิดในพื้นที่ และหารือแนวทางการจัดงานในปีนี้มีข้อสรุปร่างเป็นแนวทางตามนี้ครับ1.เห็นชอบให้จัดงานในรูปแบบ onsiteและonline ผสมผสานกัน ใช้เวลา 2 วันครึ่ง คือวันที่ 28 กันยายน เวลา 13.00 น.-

"งานฐานข้อมูลกลางสงขลา"ทีมบริษัทที่รับไปพัฒนาฐานข้อมูลกลางคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้อยู่ในภาวะพึ่งพิงโดยการสนับสนุนจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา และมูลนิธิชุมชนสงขลานำเสนอความก้าวหน้าและรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงานงวดแรกออกแบบระบบฐานข้อมูลกลางโครงร่างระบบเว็บไซต์ ที่จะประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลการบริการ และข้อมูลสิทธิ ทีมให้ข้อเสนอแนะในส่วนการวางระบบรองรับข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงรายวันเข้า

"วงกลาง 6 เมืองsuccces ภาคใต้"วันที่ 6 กันยายน 2564 ตัวแทนคณะทำงานทั้ง 6 เมืองที่ร่วมดำเนินงานร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานร่วมกันผ่านระบบประชุมทางไกลผ่านระบบ Zoom ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยผู้รับผิดชอบหลักงานโครงการ SUCCESS ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรป1)เมืองบ่อยาง อยู่ในช่วงการเรียนรู้การปรับทีม ฝึกทำแบบสอบถาม ลองสัมภาษณ์ฺ ตั้งหัวข้อในการเก็บข้อมูล ปัญหาร่วมสำคัญของเมืองและคนจนเมืองที่เป

"จากHatyai Sandbox สู่Hatyai Sandbox plus"๑๐ ก้าวย่างสำคัญ๑)การปรึกษาหารือเพื่อประเมินสถานการณ์โควิดในพื้นที่เมืองหาดใหญ่และสงขลา โดยการประสานภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้แก่ ภาคสาธารณสุข ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ท้องถิ่น ทำให้ทราบปัญหาและแนวทางการรับมือของแต่ละฝ่าย๒)ประสานวงอาสาร่วมคิด ร่วมประเมินสถานการณ์โควิด นำผู้แทนของภาคสาธารณสุข เศรษฐกิจ สังคม วิชาการ มาเป็นแกนหลัก ร่วมพัฒนาแนวทางรับมือ หารือ