
"ระบบข้อมูลกลาง"ราวปี 2554 ทางสปสช.เขต ๑๒ โดยผอ.ธีรวัฒน์ กรศิลป์ มาชวนมูลนิธิชุมชนสงขลานำข้อมูลผู้ป่วยบัตรทองของสปสช.ของเขตมาพัฒนาเป็นระบบข้อมูลเพื่อนำเสนอสถิติในแต่ละพื้นที่ให้เห็น ๑๐ อันดับโรคที่ผู้ป่วยบัตรทองไปใช้บริการ ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับกองทุนตำบลที่จะนำไปทำแผนสุขภาพระดับตำบลแก้ปัญหาต่อไปจุดเริ่มต้นนี้ทำให้เราพัฒนา www.ข้อมูลชุhttp://xn--b3c4aw.com/ มาเรื่อยๆ ยังเสียดายข้อมูลชุด

Platform : iMedCare ดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงที่บ้านโบริการด้วยหัวใจ มอบความห่วงใยถึงบ้านโWe serve excellent care at your homeสภาพปัญหา-โรคเรื้อรังส่วนมากเกิดกับคนที่มีอายุมากขึ้น หรือผู้สูงอายุ ที่ขณะนี้ไทยเรามีประมาณร้อยละ 20 ของประชากร หรือ 12 ล้าน และจะเพิ่มขึ้นปีละ 1 ล้าน (ภาคใต้ประมาณ 1.5 ล้านจากประชากรทั้งหมด 10 ล้าน คิดเป็นร้อยละ 8 ของประเทศ) ในจำนวนนี้ร้อยละ 16 เจ็บป่วยมาก (เกือบ 2

ความในใจของผม...หลังพ่ายศึก ATKค่ำคืนนี้ (24 สิงหาคม 2564) เป็นวันที่ผมได้พักมากกว่าทุกวันตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2564 ที่ผมขึ้นกรุงเทพเข้าร่วมปฏิบัติการแพทย์ชนบทบุกกรุงแล้วก็ตามมาด้วยศึก ATK จนวันนี้ นายกประยุทธ์กลับลำ พลิกมติ ครม.ให้จัดซื้อจัดจ้างได้โดยไม่ต้องใช้มาตรฐานองค์การอนามัยโลก ยกแรกศึกนี้ก็เหมือนแพทย์ชนบทกำลังพ่ายศึก ATKศึกครั้งนี้สั้นๆแต่เข้มข้น เริ่ม 10 ถึง 24 สิงหาคม 2564 เป็น 2 สัปดาห

แก้ปัญหาเมืองทั้งระบบจากปัญหาปัจเจก นำไปสู่ประเด็นปัญหาร่วม เชื่อมโยงกับภาวะอากาศร้อน หรือผลกระทบจากโควิด เชื่อมโยงไปสู่ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นเมือง ระบบโครงสร้างต่างๆ ของเมือง จากอดีต ปัจจุบันและแนวโน้มอนาคต ที่เมืองจะเปลี่ยนแปลงไปการศึกษาความเปราะบางของเมืองจึงเป็นเครื่องมือในการศึกษากลุ่มต่างๆในชุมชน ที่จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเมือง เพื่อนำผลการศึกษาเข้าสู่แผนพัฒนาท้องถิ่น

วันที่ 18 สิงหาคม 2564ประชุมคณะทำงานเครือข่ายเมืองโตนดด้วน อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ประชุมร่วมกับทีมงานมูลนิธิชุมชนสงขลา เพื่อทบทวนและทำความเข้าใจกิจกรรมการประเมินความเปราะบางของเมือง ฯ เตรียมความพร้อมคณะทำงาน และร่วมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

"หาดใหญ่ sandbox"(ต่อ)วันที่ 19 สิงหาคม 2564 ทีมอาสาสรุปผลการหารือเพื่อเสนอแนะการขับเคลื่อนหาดใหญ่ Sandbox รอบนี้มีทีมของหน่วยส่งเสริมงานอาสาสมัครฯของ ม.อ. มาร่วมด้วย๑)แนวโน้มการล็อคดาวน์ทั่วประเทศจะทำได้ไม่นาน ถึงที่สุดจำเป็นที่จะต้องเปิดให้มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และปรับแนวทางให้ประชาชนอยู่ร่วมกับโควิดอย่างปลอดภัย ที่ใดเตรียมความพร้อมก่อนก็จะสามารถปรับตัวเองรองรับกิจกรรมดังกล่าวได้อย่างรว

วันที่ 14 สิงหาคม 2564ประชุมกรรมการมูลนิธิชมุชนสงขลา ผ่านระบบ Zoom Meetingเพื่อต่อข้อมูลสถานการณ์โควิดกันในกลุ่มกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลาพร้อมกับงานอื่นๆ หลังว่างเว้นการพบกันไปในช่วงโควิด

"ผู้ดูแลที่บ้าน Home Care Giver รุ่นแรก"วันที่ 15 สิงหาคม 2564 นัดปฐมนิเทศ HCG ที่รับสมัครมาร่วมงานการดูแลที่บ้าน ที่จะใช้ platform iMedCare ในการให้บริการผู้มีภาวะพึ่งพิงที่บ้านมีผู้สมัครรุ่นแรก 25 คน มาจากพื้นที่หาดใหญ่ เมือง สะเดา จะนะ ควนเนียง วันนี้นัดมาทำความเข้าใจการเข้าสู่หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติ ที่จะมีทั้งเรียนผ่าน online 5 บท 5 วัน และให้ผู้สมัครทดสอบจะต้อ

"ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมจับมือผลักดัน หาดใหญ่ Sandbox"วันที่ 12 สิงหาคม 2564 ทีมอาสาจากสายสุขภาพ(รพ.หาดใหญ่ มอ.สสอ.) เศรษฐกิจ(หอการค้า สมาคม สมาพันธ์ SME สมาคมโลจิสติกและขนส่ง) สังคม(มอ. สมาคมอาสาสร้างสุข มูลนิธิชุมชนสงขลา) เมืองหาดใหญ่ร่วมกันประเมินสถานการณ์ ระดมแนวคิด ความร่วมมือเสริมหนุนการทำงานของสสอ.หาดใหญ่ในการรับมือโควิดระลอก 41.สถานการณ์การแพร่ระบาด ภาพรวมระดับจังหวัดตั้งแต่เมษายน

"SUCCESS บ่อยาง"เมืองบ่อยางมีเป้าหมายรองรับปัญหาคนจนเมือง ดำเนินการโดยศูนย์บ่อยางพึ่งพาตนเอง ที่เป็นองค์กรชุมชนระดับชาวบ้าน อาศัยกิจกรรมประเมินความเปราะบางของเมืองเป็นโอกาสในการสร้างทีม ศึกษาสถานการณ์ปัญหาและศักยภาพชุมชน และนำไปสู่ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเช่นเดียวกับสถานการณ์โควิด เป็นภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นได้อย่างฉับพลัน หากระบบพื้นฐานของเมืองไม่ดีพอรอ