จะนะก็มีโควิดไม่น้อย การระบาดมีอยู่ต่อเนื่อง ประสบการณ์สู้ภัยโควิดระลอก3นี้น่าสนใจอย่างมากพ่อใกล้เสียจากโรคประจำตัว ลูกสาวสุดที่รักติดโควิด. อยากกลับมาคุยกับพ่อครั้งสุดท้ายติดโควิดทั้งบ้าน หากไปอยู่โรงพยาบาลสนามหมด ใครจะเลี้ยงนกเขาที่เลี้ยงไว้นับ100ตัวคนแก่เสียที่บ้าน หลังกลับจากตรวจโควิดเชิงรุก จะจัดงานศพได้ไหม ต้องห่อศพสามชั้นไหมเรื่องราว ที่ real จากเรื่องจริงที่ไม่ค่อยได้บอกเล่าโรงพยาบาลจ
"ปลูกผักอินทรีย์รับมือโควิด"โควิดระลอกใหม่นี้เล่นงานเราหนักกว่าเดิมหลายเท่า ผู้คนจำนวนมากถูกจำกัดบริเวณอยู่ในบ้าน จึงเป็นที่มาของการปรับกิจกรรมยุค New Normal ของมูลนิธิชุมชนสงขลา๑.ห้องเรียนสวนผักคนเมือง on Zoom กลับมาอีกครั้ง เพื่อให้สมาชิกได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักในรูปแบบต่างๆผ่านระบบประชุมทางไกลของ Zoom โดยจัดทุกวันอาทิตย์ ๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ที่มีครูไก่ วุฒิศักดิ์ เพชรมีศรี เป็นวิทยา
สมุนไพรทางเลือกในยุคโควิดมูลนิธิชุมชนสงขลาภายใต้การสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ต.บางเหรียง ต.รัตภูมิ อ.ควนเนียง 20 คน ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ 12 คน ขยายพันธุ์ฟ้าทะลายโจร ต่อยอดต้นกล้าที่ได้รับ นำไปปักชำขยายพันธุ์ และตากแห้งแปรรูป สร้างรายได้ในยุคที่โควิดแพร่ระบาด สมุนไพรทางเลือกเป็นหนึ่งในการรับมือโควิดพร้อมกับสนับสนุนตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรั
วันที่ 26 สิงหาคม 2564คณะทำงานเมืองละงูร่วมประชุมทำความเข้าใจกันในทีม(กลไก)และทวนเป้าหมายงาน ภารกิจงาน หน้าที่เป็นกระบวนการในการออกแบบกิจกรรมกิจกรรมที่1 เกิดผล นำผลไปขยับต่อในกิจกรรมที่ 2 และ 3 ต่อ 44 ต่อ 5 เวทีที่ 5 คือการส่งต่อผลของงานสู่พื้นที่ และหน่วยงานพร้อมกันนั้นจะได้ทีมจากการเนินโครงการฯที่เราเรียกว่า กลไก กลไกในระดับชุมชน กลไกเครือข่ายฯ ในกลไกที่มีหน่วยงานเข้าร่วมอยู่ด้วย สู่กา
ภาคเช้า วันที่ 25 สิงหาคม 2564หัวหน้าธนารักษ์พื้นที่สงขลา มาลงพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อนแบบไม่มีนัดหมายล่วงหน้าหัวหน้าแจ้งว่า1.สำนักงานธนารักษ์พื้นที่สงขลามีความประสงค์จะบริจาคข้าวสารเพื่อผลิตข้าวสวยบรรจุปิ่นโตตุ้มตุ้ย2.ให้ชุมชนเจรจากับเทศบาลนครสงขลาเพื่อดำเนินการให้ชุมชนแหลมสนอ่อนได้ทำสัญญาเช่าโดยตรงกับธนารักษ์ให้เรียบร้อย3.พื้นที่ข้างบ้านของทุกบ้านทุกครัวเรือนให้ใช้ประโยชน์ทำแปลงผักสวนครัว
24 สิงหาคม 64คุณบุณย์บังอร ชนะโชติกับทีมงาน SUCCESS บ่อยางเข้าพบนายกเทศมนตรีนครสงขลาและรองนายกเทศมนตรีเพื่อหารือถึงแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่างท้องถิ่นกับภาคประชาชนทั้งนี้ นายกเทศมนตรีได้อ่านรายละเอียดของโครงการ SUCCESS เมืองบ่อยางนายกเทศมนตรีกล่าวว่า "ยินดีอย่างยิ่งที่จะร่วมมือกัน"ขอบคุณข้อมูลจาก เครือข่ายเมืองบ่อยาง
"หาดใหญ่ sandbox(ต่อ)"วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ทีมอาสาของเมือง หารือนัดที่ ๓ ร่วมผลักดันแนวทางการเปิดเมืองปลอดภัย ให้เมืองสามารถอยู่ร่วมกับโควิดอย่างปลอดภัยและเปิดเมืองให้เศรษฐกิจเดินหน้าได้ เคาะวันเข้าพบผู้ว่าเพื่อเสนอแนวทางและขอคำแนะนำ๑.ใช้แนวทางตามมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย(Amazing Thailand safety&Health Administration) หรือ SHA ในการคัดกรองสถานประกอบการที่มีความพร้อมจะนำร่องมา
"ระบบข้อมูลกลาง"ราวปี 2554 ทางสปสช.เขต ๑๒ โดยผอ.ธีรวัฒน์ กรศิลป์ มาชวนมูลนิธิชุมชนสงขลานำข้อมูลผู้ป่วยบัตรทองของสปสช.ของเขตมาพัฒนาเป็นระบบข้อมูลเพื่อนำเสนอสถิติในแต่ละพื้นที่ให้เห็น ๑๐ อันดับโรคที่ผู้ป่วยบัตรทองไปใช้บริการ ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับกองทุนตำบลที่จะนำไปทำแผนสุขภาพระดับตำบลแก้ปัญหาต่อไปจุดเริ่มต้นนี้ทำให้เราพัฒนา www.ข้อมูลชุhttp://xn--b3c4aw.com/ มาเรื่อยๆ ยังเสียดายข้อมูลชุด
Platform : iMedCare ดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงที่บ้านโบริการด้วยหัวใจ มอบความห่วงใยถึงบ้านโWe serve excellent care at your homeสภาพปัญหา-โรคเรื้อรังส่วนมากเกิดกับคนที่มีอายุมากขึ้น หรือผู้สูงอายุ ที่ขณะนี้ไทยเรามีประมาณร้อยละ 20 ของประชากร หรือ 12 ล้าน และจะเพิ่มขึ้นปีละ 1 ล้าน (ภาคใต้ประมาณ 1.5 ล้านจากประชากรทั้งหมด 10 ล้าน คิดเป็นร้อยละ 8 ของประเทศ) ในจำนวนนี้ร้อยละ 16 เจ็บป่วยมาก (เกือบ 2
ความในใจของผม...หลังพ่ายศึก ATKค่ำคืนนี้ (24 สิงหาคม 2564) เป็นวันที่ผมได้พักมากกว่าทุกวันตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2564 ที่ผมขึ้นกรุงเทพเข้าร่วมปฏิบัติการแพทย์ชนบทบุกกรุงแล้วก็ตามมาด้วยศึก ATK จนวันนี้ นายกประยุทธ์กลับลำ พลิกมติ ครม.ให้จัดซื้อจัดจ้างได้โดยไม่ต้องใช้มาตรฐานองค์การอนามัยโลก ยกแรกศึกนี้ก็เหมือนแพทย์ชนบทกำลังพ่ายศึก ATKศึกครั้งนี้สั้นๆแต่เข้มข้น เริ่ม 10 ถึง 24 สิงหาคม 2564 เป็น 2 สัปดาห