"วาดภาพช่วยคนจนเมือง"วางเป้าหมายไว้ จะวาดภาพหมือนแบบ Digital Art ให้กับผู้สนใจอยากได้ภาพวาดตัวเองสไตล์สีน้ำในรูปแบบไฟล์ jpeg ความละเอียดสูงสัก 20 คนๆละ 2000 บ.ระดมทุนให้ได้ 40,000 บ. เข้าสู่กองทุนฯที่มูลนิธิชุมชนสงขลาดำเนินการอยู่ โดยมุ่งเป้าเป็นเงินหมุนเวียนที่จะเข้าไปช่วยตั้งต้นให้ครัวกลางของคนจนเมืองบ่อยาง(25 มีนาคม 2565) ตอนนี้มีผู้สนับสนุนมาแล้ว 12 ราย ขอบคุณกัลยาณมิตรทุกท่านมาไว้ ณ ที่นี
"ความร่วมมือในการดูแลกลุ่มเปราะบางทางสังคม ทต.กำแพงเพชร"วันที่ 22 มีนาคม 2565 กนกวรรณ คงแก้ว ผอ.กองสวัสดิ์ ทต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ จ.สงขลา นัดหมายมูลนิธิชุมชนสงขลา ภายใต้งานการพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมระดับจังหวัด(สมัชชาสุขภาพจังหวัด) นำเสนอแนวทางการใช้ระบบข้อมูลกลางเพื่อการส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชา่ชนให้กับ ดร.อนุวัช แก้วสว่าง นายกเทศมนตรีและทีมผู้บริหารได้ข้อสรุป MOU ความร
"ผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฟื้นฟูเศรษฐกิจ"วันที่ 19 มีนาคม 2565 ประชุมทีมมูลนิธิชุมชนสงขลา จับมือสหกรณ์จังหวัด ภาคเอกชน อปท. ประชาสังคมเดินหน้า นำเศรษฐกิจสร้างสรรค์ฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังโควิด1.ประเมินสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทิศทางของรัฐเตรียมให้โควิดเป็นโรคประจำถิ่น แต่ก็มีคำถามสำคัญเรื่องโควิด ได้แก่ วัคซีน-เข็ม 3,การห้ามเดินทางเข้าออกของสงขลาในช่วง 1 เมษายน ,การเป็นโรคประจำถิ่น 1 ก
ร่วมแรงรวมพลังคนเมืองบ่อยางสงขลาสืบเนื่องจากการศึกษาความเปราะบางของเมืองบ่อยางสงขลาในโครงการ SUCCESS ภายใต้การสนับสนุนของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ( TEI ) ทำให้พบว่า เมื่อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ คนจนเมืองบ่อยางส่วนใหญ่ต้องอาศัยการพึ่งพิง และจากการสนับสนุนงบประมาณจาก พอช. เพื่อดูแลคุณภาพชีวิตของผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเทศบาลนครสงขลาทำให้เกิดการรวมตัวกันของคนจนเมืองบ่อยางเป็นกลุ่มที่มีระบบชัดเจน เ
"เกษตรและอาหารสุขภาพจังหวัดสงขลา"สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา กขป.เขต 12 เครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา ตัวแทนสสจ. ประชุมร่วมกันเพื่อกำหนดแนวทางดำเนินการในปี 65มีประเด็นหลักที่ได้ข้อสรุปร่วมกันดังนี้1.ระดับเขต ปัจจุบันทางสาธารณสุขแจ้งว่าในการรับมือโควิด-19 และการส่งเสริมสมุนไพร เขต 12 มี 7 รพ./โรงงานมีความต้องการรับซื้อฟ้าทลายโจร ขมิ้นชัน มะขามป้อม ที่ปลูกแบบอินทรีย์ซึ่งจะต้อ
วันที่ 9 มีนาคม 2565 นางบุณย์บังอร ชนะโชติ แกนนำเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา ใคร่ขออนุญาตนำเสนองานของเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา เทศบาลนครสงขลา ดังนี้1.การเชื่อมโยงเครือข่ายสร้างสายสัมพันธ์กับชุมชนต่างๆโดยการ-ก่อตั้งกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ในแต่ละชุมชนมาตั้งแต่เดือนธันวาคม 64 - กุมภาพันธ์ 65 ได้แล้วจำนวน 16 กลุ่ม 16 ชุมชน-ฟื้นฟูจำนวน 1 กลุ่ม 1 ชุมชน-กำลังช่วยกันก่อตัวเพื่อก่อตั้งจำนวน 6 กล
"เครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา"วันที่ 11 มีนาคม 2565 ประชุมแกนนำเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา กำหนดแนวทางดำเนินการปี 65 ประชุมผ่าน zoom ในช่วงโอไมครอนกำลังพีค1.สถานการณ์การเคลื่อนการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ PGS ในระดับชาติมีแนวคิดใช้สภาเกษตรระดับชาติสร้างมาตรฐานกลาง ขณะที่กัญชาที่เป็นพืชเศรษฐกิจใหม่ หรือกระท่อมที่ปลูกในสวนยางก็ต้องการมาตรฐานเกษตรอินทรีย์รองรับ แต่มาตรฐานระดับชาติ
"ความร่วมมือด้านสังคม"มูลนิธิชุมชนสงขลา/สมัชชาสุขภาพจังหวัด/กขป.เขต 12 กองทุนฟื้นฟูสมรรรถภาพอบจ./ทีมโปรแกรมเมอร์ พมจ.สงขลา นำโดยท่านพมจ.และทีม หารือเพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางการทำงานร่วมกันทางพมจ.กำลังขับเคลื่อนศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม โดยพมจ.มีแนวทางที่จะหลอมรวมงานภายในองค์กรของพม.ร่วมกับอปท. อาทิ ศูนย์พัฒนาครอบครัว ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการคนพิการ สภาเด็กฯ อพม. ศูนย์ ICT ฯลฯใ
วงกลาง success 6 เมืองภาคใต้ประจำเดือนมีนาคม 2565วันที่ 7 มีนาคม 2565 วงกลางประจำเดือนของแกนนำ 6 เมืองภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(success) รอบนี้แลกเปลี่ยนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 การเกิดอุทกภัยในช่วงหน้าร้อน และความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม 1.3 ในรอบเดือนมีประเด็นสำคัญๆดังนี้1.แกนนำหลักส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับโควิดทั้งในฐานะองค์กรรับผิดชอบหรือเป็นทีมงาน หรือ
"เกษตรอินทรีย์วิถีในเมือง"วันที่ 4 มีนาคม 2565 คุณชาคริต โภชะเรือง ผู้จัดการมูลนิธิชุมชนสงขลาได้รับเกียรติจากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ชวนให้มานำเสนอกิจกรรมสวนผักคนเมืองหาดใหญ่ เป็นส่วนหนึ่งของงานเกษตรอินทรีย์วิถีในเมือง ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ที่กำลังเกิดขึ้นเกษตรเมือง เริ่มได้รับความสนใจ ทิศทางใหม่นี้ครอบคลุมมิติเชิงกายภาพ เช่น พื้นที่สีเขียว ชุมชนสีเขียว ธุรกิจสีเขีย