
"ทดสอบการใช้งาน iGreenSmile"วันที่ 22 สิงหาคม 2565 นัดวิสาหกิจกลุ่มใต้ร่มบุญ นำโดยตานูน มนูญ แสงจันทร์ศิริ กับสมาชิก ประกอบด้วยสุวรรณรัตน์ฟาร์ม โชกุนฟาร์ม ไชยวัฒก์ฟาร์ม สมายฟาร์ม ทุ่งบายใจฟาร์ม และจะณะแบ่งสุข มาร่วมทดสอบการใช้งานแอพพลิเคชั่น iGreenSmileเริ่มด้วยการทำความเข้าใจระบบของการบริหารจัดการผลผลิตอาหารสุขภาพสู่โรงครัวของโรงพยาบาล ร้านอาหาร โรงแรมฯลฯ ที่ประกอบด้วย user สำคัญ 4 ฝ่าย

"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองบ่อยาง"วันที่ 20 สิงหาคม 2565 ช่วงบ่าย ๆเห็นพัฒนาการของสมาชิก ผลผลิตเริ่มมีให้เห็น แปลงผักใหม่ๆเริ่มเกิดขึ้นในหลายจุด บางส่วนสามารถนำไปจำหน่าย(ต้นอ่อน)หลายคนนำการบ้านมาส่ง...น้ำหมักแบบเปรี้ยว แบบหวาน ปุ๋ยก้อนรอบนี้ได้ป้าหมาย น้องปลา มาสอนเรื่องน้ำส้มกล้วย สำหรับใช้ปรุงอาหารแทนน้ำส้มและล้างผักที่มีการปนเปือ่นสารพิษ และน้ำผึ้งกล้วย ครูไก่สอนเรื่องการทำน้ำเอ็นไซส์ และน้

"เตรียมเวทีประชาคมจัดทำแผนชุมชนบ้านหลบมุม"วันที่ 16 สิงหาคม 2565 นัดหมายประธานชุมชน กรรมการ แกนนำ โดยมีกำนัน รองนายกทต.พะตงมาร่วมประชุมเตรียมจัดเวทีประชาคมกรรมการชุมชนลงพื้นที่สำรวจข้อมูลแต่ละครัวเรือนในชุมชนที่มี พร้อมกับดึงตัวแทนครัวเรือนเข้าสู่กลุ่มไลน์กลางของชุมชนเพื่อใช้ในการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เสนอแนะ มีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุมชนแห่งนี้มีความเสี่ยงในเรื่องอุทกภัยเป็นทางผ่านน้ำประกอบกั

iMedCareวันที่ 12 สิงหาคม 2565 ตรวจสอบคำถามสำคัญ เพื่อกำหนดทิศทางดำเนินงาน มูลนิธิชุมชนสงขลาเชิญที่ปรึกษามาช่วยตั้งคำถาม ร่วมกันหาคำตอบ"ดูแลด้วยหัวใจ มอบความห่วงใยถึงบ้าน"

"iGreenSmile"ในที่สุด Platform iGreenSmile :ระบบบริหารจัดส่งวัตถุดิบอาหารปลอดภัยสู่โรงครัวโรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร เวอร์ชั่นแรกก็พร้อมที่จะใช้งาน ด้วยการเชิญกลุ่มเกษตรกรมาทดสอบการใช้ระบบ"iGreenSmile กับกลุ่มใต้ร่มบุญ"Application iGreenSmile ดำเนินการโดยมูลนิธิชุมชนสงขลาและเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัด ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานนวตกรรมแห่งชาติ(NIA) ออกแบบมาเพื่อบริหารจัดการวัตถุดิบอาหารปลอด

"iMedCare ท่าไทร-สวนเรีน เกาะยอ"ต.เกาะยอประกอบด้วย 2 รพ.สต. นำกลุ่มอสม.และCG มาร่วมฝึกอบรมการใช้ระบบเยี่ยมบ้าน iMed@home ในการบันทึกกิจกรรมการให้บริการ เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมการเป็นผู้ดูแลที่บ้านหรือHome CareGiver ที่มีคณะพยาบาลศาสตร์ มอ.เป็นผู้พัฒนาหลักสูตร และมีมูลนิธิชุมชนสงขลาเป็นผู้พัฒนา Platform iMedCareการฝึกทักษะการใช้ระบบเยี่ยมบ้านประกอบด้วยขั้นตอนพื้นฐาน ตั้งแต่การโหลดแอพพล

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 นายประโชติ อินทร์ถาวร และนางดารา อินทร์ถาวร ผู้แทนมูลนิธิชุมชนสงขลา เข้าร่วมรับฟังข้อมูลสถานการณ์ด้านการศึกษาและสุขภาพของเด็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ณ ห้องประชุม Science Stone อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาจัดโดย สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติทำให้ได้รับรู้เรื่องราวด้านการศึกษาต่างๆ เช่นกศน.มีคุณภาพการศึกษาค่อนข้างต่ำทำให

วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๕ สำนักปลัดเทศบาลตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ได้นำนักเรียนจากโรงเรียนวัดโคกม่วง โรงเรียนวัดโคกเหรียงและโรงเรียนบ้านปลักคล้า พร้อมด้วยบุคลากรทางการศึกษาและเจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลโคกม่วง เข้าเรียนรู้ตามโครงการเยาวชน พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ณ สวนเบญจพฤกษ์กิจกรรมภาคเช้า๑.ชมรูปแบบการปลูกผักและการนำเศษวัสดุมาใช้ปลูกผัก๒.ชี้แจงหลักสูตรที่จะเรียนรู้ในวันนี้๓.ปฏิ

"iMedCare ทต.ปริก"วันที่ 1 สิงหาคม 65 คณะพยาบาล มอ.นำโดยดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย และมูลนิธิชุมชนสงขลา นัดทีม HCG ที่ผ่านการอบรมจากคณะพยาบาลศาสตร์มอ.มาร่วมฝึกการใช้งาน แอพ iMed@home ณ ห้องประชุมสภา ทต.ปริก อ.สะเดาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาศักยภาพและบันทึกการฝึกงาน พัฒนาความพร้อมของผู้ดูแลที่บ้าน และร่วมจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อสุขภาพให้บริการผ่าน Platform iMedCare ภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนา

"วงกลาง SUCCESS เมืองภาคใต้"วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 ประชุมร่วมกันระหว่างทีมกลาง TEI มูลนิธิชุมชนสงขลาและแกนนำ 6 เมืองโครงการ SUCCESS ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรปในพื้นที่ภาคใต้ คือ บ่อยาง พะตง ควนลัง ปาดังเบซาร์ จ.สงขลา โตนดด้วน จ.พัทลุง ละงู จ.สตูล ในเรื่องสำคัญดังนี้1.เมืองบ่อยางบอกเล่าสถานการณ์ปัญหาการเช่าที่กับธนารักษ์ที่ต้องหาข้อสรุปกับจังหวัด เทศบาล และชุมชนด้วยกัน2.ความก้