
จังหวะก้าวที่ภาคภูมิใจก้าวแรกเกิดแปลงตำลึงทองก้าวที่สองสู่สวนผักกลางป่าสนพลังใจสู้จนเติบใหญ่เป็น "สวนผักคนเมืองบ่อยาง "วันนี้ด้วยความมุมานะบากบั่น พวกเราได้นำพาโครงการ "สร้างแหล่งอาหารชุมชน คนบ่อยางสร้างเงิน" ถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างเรียบร้อยสมบูรณ์พวกเรายังมีพลังสร้างสรรค์ ต่อยอดไปอีกอย่างไม่หยุดยั้ง สามารถติดตามได้จากผลงานสำคัญ อาทิ1.โครงการ SUCCESS เตรียมเมืองเพื่อรับมือการเป

"Open Data"ข้อมูลนำไปสู่การจัดการความรู้ นำไปสู่นโยบายและการพัฒนา รวมไปถึงการติดตามประเมินผลทว่าปัจจุบัน การทำงานภายใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์ ข้อมูลอยู่คนละหน่วยงาน คนละฝ่าย แถมถือวิธีการและวัตถุประสงค์การใช้งานที่แตกต่างกัน ทั้งที่การทำงานไม่อาจแยกส่วนจากกัน มีการเชื่อมโยงเชิงระบบไปด้วยกัน ไม่นับรวมว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่ตกหล่น ประชากรมีการเคลื่อนไหวข้ามพื้นที่ เลื่อนไหลอยู่ตลอดเวลาการทำง

"success ควนลังรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่"วันที่ 14 สิงหคม 2566 โครงการนำร่องของ success ควนลัง เดินหน้าทำกิจกรรมประสานเกษตรกรกว่า 50 ชีวิตมาร่วมจัดตั้งกลุ่มเกษตรสุขภาพระดับตำบล ร่วมแก้ปัญหาเรื่องน้ำ การผลิต และการตลาด ณ กศน.ควนลัง โดยมีคณะทำงาน กศน.ควนลัง และมูลนิธิชุมชนสงขลาเข้าร่วมคณะทำงานได้กล่าวต้อนรับชี้แจงวัตถุประสงค์ สรุปผลการประเมินความเปราะบางเบื้องต้นซึ่งชี้ประเด็นการบริหารจัดการน้ำขอ

"เตรียมงานสมัชชาพลเมืองสงขลา"เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2566 วันดี เครือข่ายร่วมจัดงานวันพลเมืองสงขลาปี 2566 ประกอบด้วยมูลนิธิสงขลาสู่มรดกโลก/มูลนิธิเรารักสงขลาเฉลิมพระเกียรติ/ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม มูลนิธิชุมชนสงขลา มูลนิธิอนุรักษ์ป่าต้นน้ำสงขลา มูลนิธิเพื่อการพัฒนาแรงงานและอาชีพ สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทยสงขลา สมาคมอาสาสร้างสุข สมาคมผู้บริโภคสงขลา สมาคมคนพิการสงขลา สมาคมสวัสดิการภาคประชาชนสงขลา เครือข

วันที่ 20 มิถุนายน 2566เครือข่ายอาสาสมัครเมืองพะตง จัดกิจกรรมยุวเกษตรกรเพื่อให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้การผลิตอาหารผ่านกิจกรรมเกษตรอย่างง่าย เป็นการสร้างความเข้าใจและให้เด็ก ๆ เรียนรู้และพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารในอนาคตได้

วันที่ 21 สิงหาคม 2566 ตัวแทนชุมชนนำร่อง เทศบาลนครสงขลา โดยโครงการ SUCCESS เมืองบ่อยาง เข้ารับการอบรมความรู้การใช้ข้อมูลของกลุ่มเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชนแบบมีส่วนร่วมชุมชนบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างชุมชนกับศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออกนอกเหนือจากการได้รับความรู้และข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยาแล้ว ทุกคนยังได้สมัครเป็นอาสาสมัครอุตุนิยมวิทยา (อสอต.)

"ชุมชนบ้านหลบมุม"วันที่ 19 สิงหาคม 2566 คณะทำงานโครงการนำร่อง success เมืองพะตง นัดคณะทำงานชุมชนบ้านหลบมุม ประชุมกลุ่มย่อย จัดทำข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชน และวิเคราะห์ผังองค์กรชุมชนภายใต้กิจกรรมจัดทำแผนผังภูมินิเวศระดับชุมชน ณ ศาลาเอนกประสงค์ชุมชนบ้านหลบมุมจากการทำ Time line ประวัติศาสตร์ชุมชนพบว่า ที่นี่เป็นชุมชนใหม่ ราวปี 2506 สภาพทั่วไปยังเป็นป่ายาง มีครัวเรือนอาศัยอยู่ไม่ถึงสิบหลัง ต่อมาราวป

"เกษตรสุขภาพอำเภอหาดใหญ่"วันที่ 17 สิงหาคม 2566โมูลนิธิชุมชนสงขลานัดเกษตรกรมีทั้งysf กลุ่มเกษตรกรผักยกแคร่/ฟาร์มตัวอย่าง กลุ่มโกโก้ ฟาร์มเห็ดโ บ.สานฟาร์มดีโ เกษตรกรจากสิงหนคร พะตง น้ำน้อย ท่าข้าม ทุ่งตำเสา ควนลัง คลองหอยโข่ง วิสาหกิจจากจะนะ พะตง ควนลังโ สหกรณ์การเกษตรโ ภาคเอกชนโ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่โ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดโ สหกรณ์จังหวัด โเกษตรจังหวัดโ สภาเกษตรกรจังหวัด

วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๖ คณะทำงานโครงการนำร่องพัฒนาศักยภาพเครือข่ายองค์กรกลุ่มอาชีพและสร้างการเป็นเครือข่ายระดับตำบล ศึกษาดูงานเพื่อเชื่อมร้อยเครือข่ายองค์กรในพื้นที่จังหวัดพัทลุงด้วยกันณ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง และดูตัวอย่างการทำฝายมีชีวิต ณ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุงชนิศภณ สุขแก้ว รายงาน

วันที่ 7 สิงหาคม 2566 กลุ่มผู้เดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัยซึ่งเป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนภราดร เทศบาลนครสงขลา ได้รวมตัวกันจำนวนประมาณ 40 กว่าราย ทยอยเดินทางไปจัดหาที่ดินประเภทที่ดินโฉนด เพื่อย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่บริเวณชานเมืองห่างจากเขตชุมชนเดิม ในเขตเทศบาลนครสงขลา ระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร โดยทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจที่จะย้ายออกจากเขตเมืองบ่อยาง ด้วยคาดหวังว่าจะมีความมั่นคงด้