วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๖ คณะปฏิบัติการจัดการน้ำตำบลโตนดด้วน จัดกิจกรรมฟื้นฟูสายน้ำและพัฒนาห้วยขี้ค่าง จัดทำฝายมีชีวิต(ลงเสาเอก) โดยมีหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน ผู้นำชุมชน จิตอาสา ผู้นำศาสนา ฯลฯชนิศภณ สุขแก้ว บันทึกเรื่องราว
"SUCCESS เมืองปาดังเบซาร์"วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 คณะทำงานโครงการนำร่อง success เมืองปาดังเบซาร์ นัดภาคีเครือข่ายประชุมคณะกรรมการอำนวยการโครงการประกอบด้วย โรงเรียนชุมชนบ้านปาดังเบซาร์ ด่านปาดังฯ สถานีตำรวจ ทม.ปาดังฯ ตัวแทนชุมชน อสม. กลุ่มจิตอาสา เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมสภาทม.ปาดังเบซาร์ผลการประชุมมีเรื่องสำคัญนอกจากการรับทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการแล้ว ยังได้ให้ข้อเสนอแนะและความร่วมมือที่เ
"ตลาดล่วงหน้า : ความร่วมมือเกษตรสุขภาพอำเภอหาดใหญ่"26 พค.66 โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลาประจำปี 2566 รับผิดชอบโดยมูลนิธิชุมชนสงขลา โดยการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ประสานเกษตรกร คู่ค้า ลูกค้า(รพ. ร้านอาหาร) และหน่วยงานสนับสนุนจำนวน 52 คนประชุมสร้างความร่วมมือการจัดส่งวัตถุดิบอาหาร ผัก ผลไม้ ข้าว มาตรฐาน GAPและอินทรีย์ ณ ห้องประชุมสนง.สหกรณ์การเกษตรหาดใหญ่
วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 คณะทำงานเมืองละงูจัดประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการนำร่องพื้นที่เมืองละงู โครงการพัฒนากลไกภาคีเครือข่ายอนุรักษ์ ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์คลองละงูเพื่อให้แกนคณะทำงานในพื้นที่กลางน้ำและปลายน้ำรับฟังชี้แจงวัตถุประสงค์ โดยคุณกัลยทรรศน์ ติ้งหวังพูดคุย แนะนำ ชวนคิด โดยคุณวิรัช โอมณีจัดทำฐานข้อมูล,ชุดข้อมูลแบบสำรวจโดยคุณเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวันจากนั้นแบ่งกลุ่มดูช
วงหารือเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 ชาวชุมชนแหลมสนอ่อนชุมชนแหลมสนอ่อน มีเรื่องต้องแก้ไขในระยะนี้ 3 เรื่องคือเรื่องที่ 1 จำนวน 5 รายต้องเตรียมเอกสาร ไปตามหมายเรียกของตำรวจเรื่องที่ 2 หนังสือราชการที่เพิ่งรับร้อนๆในวันนี้ คือ จังหวัดแจ้งคำพิจารณาอุทธรณ์จำนวน 18 ราย ว่า "ยกอุทธรณ์" ซึ่งนับจากวันนี้ไป 30 วัน 18 รายนี้จะต้องไปยื่นเสนอคำฟ้องเป็นหนังสือยื่นต่อศาลปกครอง ภายในสามสิบว
ตลาดอนามัย เป็นความร่วมมือของเครือข่ายผู้ผลิต ร่วมกับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติพะตง และภาคีเครือข่าย เปิดพื้นที่กลางสำหรับเชื่อมโยงผู้คนในพื้นที่เมืองพะตง ร่วมขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต จุดเน้นเริ่มจากสุขภาพและอาหารปลอดภัยจากการผลิตที่ปลอดสารพิษทางวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์และเครือข่ายเทศบาลตำบลพะตง ขอขอบคุณ บริษัทศรีตรังโกฟลส์ที่มามอบชุดผ้ากันเปื้อนให้กับกลุ่มผู้ค้า(ตลาดอนามัย)ค่ะลัดด
วันที่ 17 พฤษภาคม 2566เวลา 10.00 น.ใด้นัดพบกันเพือทำงานในชุมชนเพื่อความชัดเจนขอชุมชนในการตั้งชื่อชอยให้ทุกคนทั้งในและคนนอกใด้รู้จักชอยให้มากขึ้นมีชื่อชอยทุกคนก้อใด้รู้ว่าตรอกนี้ชอยชื่อชอยอะไรเพราะอยู่ๆๆมาไม่เคยมีแต่วันนี้ทีมทำงานจะลงตามชอยและตั้งชื่อชอยไปพร้อมๆกัน เป็นสิ่งทีดีของชุมชนบาลายที่ชาวบ้านพร้อมด้วยทีม.อ.ส.ม.ลงมาช่วยขับเคลื่อนด
วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 ประชุมหารือและแลกเปลี่ยนความคืบหน้าการดำเนินโครงการนำร่อง SUCCESS ปีที่ 4ระหว่างทีมสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย(TEI) ทีมศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์เอกชนสาธารณประโยชน์ (ศปส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (CSNM) และทีมมูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF)ร่วมนำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการนำร่องในแต่ละเมือง และแผนการทำงานหลังการเลือกตั้ง เพื่อ
"ชุมชนบ้านหลบมุม"ชุมชนแห่งนี้มีลักษณะใหม่ เกิดขึ้นจากการพัฒนา มิได้อยู่ในขอบเขตการปกครองของระบบกฏหมายแห่งรัฐที่นี่มีโรงงานทั้งสิ้น 14 แห่ง มีแรงงานต่างชาติ ต่างถิ่นเข้ามาอยู่ในพื้นที่จำนวนมาก (เกิน 4 ปีตามสัญญาจ้าง-เกือบพันคน) คนเหล่านี้อยู่ในบ้านเช่าบ้าง ในโรงงานบ้าง หรือในสถานที่ซึ่งนายจ้างจัดหาให้ บางส่วนเป็นคนไทย ต่างถิ่น เข้ามาบุกรุกที่ดินการรถไฟ จับจองและสร้างที่พัก ราว 200 ครัวเรือน มีปร
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566ทีม Success ควนลัง โดยคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ประชุมสรุปผลการประชุมที่ผ่านมาและวางแนวทางการ ขับเคลื่อนโครงการในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มผู้ใช้น้ำและกลุ่มเกษตรกร ซึ่งจะลงพื้นที่สำรวจข้อมูลในวันที่ 11 พฤษภาคม 2566ณัฐกฤตา อารมณฤทธิ์รายงาน