19 พฤศจิกายน 2566 สภาพชายฝั่่งหาดเก้าเส้ง ในวันที่คลื่นแรง และภารกิจการวางกระสอบทรายป้องกันคลื่นของชุมชน21 พฤศจิกายน 2566 ติดตั้งที่วัดระดับน้ำทะเล เพื่อเก็บข้อมูลระดับทะเล พื้นที่หาดม่วงงาม#Adaptation Research Alliance#ARA Micro grants
"แผนชุมชนสนามบิน"วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 คณะทำงาน success เมืองบ่อยาง นัดแกนนำและสมาชิกชุมชนสนามบิน ทน.สงขลา มาร่วมทำแผนชุมชนเพื่อการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกในชุมชนที่เป็นผู้สูงอายุเล่าว่าอยู่ที่นี่ตั้งแต่เกิด ราวปี 2480 อดีตเป็นเพียงป่ายาง(ละหุ่ง) ป่าพร้าว ต่อมาเริ่มมีชุมชนมาบุกเบิกสร้างบ้านอยู่ และขยายชุมชนมาเรื่อยๆ หลายคนมาจากต่างถิ่น อาทิ ลำปาง ระโนด สิงห
"success โตนดด้วน"วันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 ประชุมกรรมการอำนวยการโครงการนำร่องเมืองโตนดด้วน มีผู้แทนหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ นำโดยคณะทำงาน ที่ปรึกษานายกอบจ.พัทลุง สนง.พัฒนาชุมชน สถานีพัฒนาที่ดิน เกษตรอำเภอ คณะกรรมการน้ำระดับอำเภอ สสอ. นายกทต.โตนดด้วน กองช่าง ผญ./อดีตกำนัน สารวัตรกำนัน เกษตรกร สมาคมสร้างสุขคนเมืองลุง สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย มูลนิธิชุมชนสงขลา จำนวน 26 คนเข้าร่วมที่ประชุมได้รับทราบความเป
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2566ทีมงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (SUCCESS) จากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป นำโดย ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา ผู้อำนวยการโครงการฯ และมูลนิธิชุมชนสงขลาลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าโครงการนำร่องเพื่อลดความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : โครงการจัดทำแผนและผังภูมินิเวศเมืองพะตงและแผนชุมชนหลบม
เครือข่ายเมืองโตนดด้วน วันที่ ๑๖ พฤศจกายน ๒๕๖๖ หอประชุม หมู่ที่ ๗ ตำบลโตนดด้วนคณะปฏิบัติการจัดการน้ำตำบล จัดประชุมเพื่อเติมเต็มข้อมูล และแบ่งหน้าที่ในการนำเสนอกิจกรรม ในการประชุมคณะทำงานจากส่วนกลางในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ในที่ประชุมได้วางแผนการทำงานระยะยาว โดยการตั้งเป็นสมาคม "พลเมืองโตนดด้วนอาสารักษ์ถิ่น"ชนิศภณ สุขแก้ว บันทึกเรื่องราว
เครือข่ายเมืองโตนดด้วน วันที่ ๑๖ พฤศจกายน ๒๕๖๖ หอประชุม หมู่ที่ ๗ ตำบลโตนดด้วนคณะปฏิบัติการจัดการน้ำตำบล จัดประชุมเพื่อเติมเต็มข้อมูล และแบ่งหน้าที่ในการนำเสนอกิจกรรม ในการประชุมคณะทำงานจากส่วนกลางในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ในที่ประชุมได้วางแผนการทำงานระยะยาว โดยการตั้งเป็นสมาคม "พลเมืองโตนดด้วนอาสารักษ์ถิ่น"ชนิศภณ สุขแก้ว บันทึกเรื่องราว
"แผนผังภูมินิเวศชุมชนบ้านหลบมุม"วันที่ 13 พฤศจิกายน .2566 โครงการ success เมืองพะตง นัดชุมชนบ้านหลบมุม ทต.พะตงคืนข้อมูลและให้ข้อเสนอแนะต่อการจัดทำแผนผังภูมินิเวศชุมชน เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมโครงการนำร่อง ณ ศาลาเอนกประสงค์ ชุมชนบ้านหลบมุมมีผู้เข้าร่วม 50 คน ประกอบด้วยคณะทำงาน กองสวัสดิ์ฯ ทต.พะตง อสม. สมาชิกในชุมชน มูลนิธิชุมชนสงขลา และสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยตัวแทนคณะทำงานที่ได้ทำแผนที่ทำมือสำรวจ
"ชุมชนภราดร"วันที่ 12 พฤศจิกายน 2566 คณะทำงานโครงการนำร่อง successเมืองบ่อยาง ชวนสมาชิกกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชน อสม. กับสมาชิกบางส่วนของชุมชนภราดร ทน.สงขลาเติมเต็มข้อมูลและร่วมทำแผนชุมชน/แผนรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสมาชิกร่วมกันให้ข้อมูลเพิ่มเติม ทำให้ทราบที่มาของชื่อชุมชนภราดรว่าเป็นชื่อของบุตรชาย นายจำนง ชุ่มจันทร์ ผู้สร้างบ้านหลังแรกในชุมชนราวปี 2510 จำนวนบ้านเช่าในชุมชน
แผนสุขภาพรายคนงานพัฒนาเมนูใหม่ให้ใช้งานในแอพพลิเคชั่น iMed@homeนั่นคือ ระบบกลุ่มแบบปิดเอื้อให้กลุ่มชุมชนพัฒนางานคุณภาพชีวิตเชิงรุก เริ่มด้วยแผนสุขภาพรายคน...ควบคู่กับการทำแผนและกติกาหรือธรรมนูญสุขภาพ แผนสุขภาพรายคนจะใช้กับกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วย ปรับพฤติกรรม ประเมินผล แบบครบวงจร อย่างน้อยจะช่วยให้เราสามารถควบคุมหรือดูแลสุขภาพตนเองได้มากขึ้นระบบกลุ่มปิด ประกอบด้วย1.Admin2.user3.กล
"ประชุมทีมเมืองบ่อยาง"วันที่ 5 พฤศจิกายน 2566 ประชุมทีมเมืองบ่อยาง รอบนี้เน้นทีมหลักของโครงการ success และแกนนำจากชุมชนแหลมสนอ่อน(อสม.และแกนโซน)ที่กำลังทำเรื่องระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบมีส่วนร่วม ณ ที่ทำการกองทุนขยะชุมชนถือเป็นการสรุปบทเรียนการพัฒนาในชุมชน พร้อมกับชี้แจงบอกเล่าโครงการต่างๆที่ลงมาในชุมชน พร้อมกับสถานการณ์เฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น และแนวทางการทำงานร่วมกับหน่วยงาน/เครือข่ายต่าง