"พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิโดยชุมชนมีส่วนร่วม ชุมชนแหลมสนอ่อน"
"พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิโดยชุมชนมีส่วนร่วม ชุมชนแหลมสนอ่อน"
วันที่ 22 กรกฎาคม 2566 เตรียมความพร้อมชุมชนแหลมสนอ่อน นำกระบวนการประเมินผลเพื่อการพัฒนา(DE) 8 ขั้นตอนมาใช้พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิโดยชุมชนร่วมกับภาคีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นัดแกนนำชุมชนทำความเข้าใจแนวคิดแนวทางดำเนินงานโครงการปีที่สองต่อจากการถอดบทเรียนโควิดปีแรก
นำผลการประชุมใหญ่ที่สมาชิกส่วนใหญ่ได้เสนอแนะไว้มาต่อยอดในด้านที่เกี่ยวข้องและสามารถนำมาสู่การปรับระบบบริการปฐมภูมิ วางเป้าหมายให้ชุมชนเป็นชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ด้านหนึ่งผนวกกับแนวทางการเช่าที่อยู่อาศัยกับธนารักษ์เพื่อให้สอดคล้องกับผังเมือง อีกด้านวางพื้นฐานการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเพื่อแก้ปัญหาโรคเรื้อรังในชุมชน
ผลลัพธ์เบื้องต้น
1)แผนสุขภาพเชิงรุกรายบุคคลในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย
2)สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
3)มีกลไกร่วมดำเนินการระบบบริการปฐมภูมิของชุมชน
นวตกรรมที่จะดำเนินการ
1)แผนปรับพฤติกรรมสุขภาพรายคนและระบบบันทึกข้อมูลบุคคลก่อน-หลังดำเนินการเพื่อช่วยลดปัญหาโรคเรื้อรังผ่านแอพ iMed@home ร่วมกับอสม.และหน่วยบริการ
2)วางผังชุมชนระดับครัวเรือน/ชุมชน สร้างสภาพแวดล้อม(รั้วกินได้/แปลงผักสมุนไพรประจำบ้าน/เมนูสุขภาพประจำชุมชน)
3)ร่วมพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิโดยชุมชนเมืองบ่อยาง ผ่านธุรกิจเพื่อสังคม ดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน iMedCare ร่วมกับสสอ.คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ. รพ.สงขลาและอบจ.สงขลา
Relate topics
- จดหมายข่าวโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (SUCCESS) ฉบับที่ 1 - 10
- ก้าวที่ 1 ของ iMedCare ธุรกิจเพื่อสังคมของสงขลา"
- "แผนผังภูมินิเวศ"
- เครือข่าย SUCCESS เมืองควนลังร่วมงานส้มโอเมืองควนลังปี 2567
- "ทีม iMedCare วิถีผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน"
- อังกฤษที่ผมเห็น ตอนที่ 11 - 21
- อังกฤษที่ผมเห็น ตอนที่ 1 - 10
- "iMed@home ระบบกลุ่ม"
- สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลาชูวาระ "พลิกโฉมพลังพลเมืองสงขลาเพื่อสังคมสุขภาวะที่ยั่งยืน"
- กิจกรรมรับบริจาคโลหิตประชารัฐสงขลาประจำเดือนตุลาคม 2567