"การเดินทางจากแปลงผักสู่ครัว"

  • photo  , 1280x720 pixel , 154,440 bytes.
  • photo  , 960x540 pixel , 77,093 bytes.
  • photo  , 960x540 pixel , 115,477 bytes.
  • photo  , 960x540 pixel , 96,786 bytes.
  • photo  , 960x540 pixel , 125,763 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 118,922 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 160,074 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 130,276 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 162,722 bytes.
  • photo  , 960x1280 pixel , 234,085 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 152,894 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 193,919 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 134,879 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 183,769 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 175,566 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 186,005 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 169,533 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 204,703 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 196,539 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 206,616 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 112,861 bytes.

"การเดินทางจากแปลงผักสู่ครัว"

การผลิตแบบอินทรีย์ในพื้นที่เมืองใช่ว่าจะทำไม่ได้

ที่นี่สวนลุงนุ้ยป้าสาว  เริ่มด้วยการเตรียมดิน ออกแบบแปลง จัดโซนพื้นที่ผลิต ด้านหน้าเป็นจุดรับแขกต้องการความสวยงามดึงดูดสายตา ผักสวนครัวจึงถูกปลูกบริเวณด้านหลัง พร้อมจุดทำดิน ทำปุ๋ย ด้านหน้าซ้ายมือเป็นจุดต้อนรับผู้มาเยือน จัดเป็นพื้นที่ร้านกาแฟ น้ำปั่นผัก น้ำผลไม้ พร้อมจุดจำหน่ายปัจจัยการผลิต จำพวกดิน ปุ๋ยไส้เดือน ต้นกล้า วัสดุเพาะ

จะเห็นแนวกันชนที่มีไม้ยืนต้น แนวรั้ว ทำหน้าที่ปกป้องแปลงผักจากมลภาวะในเมือง การปลูกผักสลัดหรือผักสวนครัวแบบยกแคร่ ช่วยแก้ปัญหาหญ้าหรือวัชพืช และการปนเปื้อนบนผิวดิน

นอกจากผังแปลงแล้ว ยังบันทึกกิจกรรมการผลิต กิจกรรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจ ผู้ผลิตเองได้รู้ต้นทุน ควบคุมต้นทุนได้ง่าย

#สวนลุงนุ้ยป้าสาว

#แปลงผักออร์แกนิคคนเมืองควนลัง

personมุมสมาชิก

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน.

เครือข่าย

เครือข่ายมูลนิธิชุมชน