"๑ ปี การปลูกผักสลัดอินทรีย์สวนผักภูธาร"สวนผักภูธาร โดยคุณเล็ก-จงกลนี นี แมคแอลลิกอล เริ่มความสนใจปลูกผักอินทรีย์เพื่อบริโภคในครัวเรือน เรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกเหมือนกับการทดลองวิทยาศาตร์ในทุกขั้นตอนการผลิต การตลาดเริ่มต้นจากการเรียนรู้ผ่านบูธนิทรรศการสวนผักคนเมืองในงานเกษตรภาคใต้ จุดประกายความคิด และได้กลับมาลองปลูกที่บ้าน ลองผิดลองถูกทั้งเรียนผ่านยูทูปและเพื่อนสมาชิกสวนผักคนเมือง และแห
วันนี้ (24 มิถุนายน 2564) มาร่วมดูงานการบริหารจัดการขยะฐานศูนย์ ที่เทศบาลตำบลปริก ตามแนวนโยบายพระราชดำริ ร.9 เศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGsโดยเน้นการพัฒนาคน ทำงานเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน(ทต. มัสยิด ร.ร. )ในการจัดการขยะในครัวเรือน ได้เห็นความตั้งใจของทต.ปริกและชุมชน ที่เห็นความสำคัญจนเกิดเป็นพฤติกรรมการจัดการขยะในแต่ละวันของแต่ละครัวเรือนขอบคุณที่รักโลกเก็บโลกไว้ให้ลูกขอบ
ต่อยอดสู่ความยั่งยืนวันที่ 24 มิถุนายน 2564 เครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงอำเภอรัตภูมิ ขยายผลจากตลาดกรีนปั้นสุขโรงพยาบาลรัตภูมิ สู่ตลาดชุมชน โดยปีนี้มีการวางแผนขยายผลในพื้น 5 ตำบล เต็มพื้นที่อำเภอรัตภูมิเพื่อส่งเสริมระบบเกษตรอินทรีย์และจุดแลกเปลี่ยนผลผลิตในชุมชนและระหว่างตำบลภายใต้ความร่วมมือการสนับสนุนของหน่วยจัดการระดับจังหวัดสงขลา (Node flagship songkhla) สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืน
"ชุด care set รับมือโควิด"มูลนิธิชุมชนสงขลาดำเนินการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางทางสังคมผ่านโครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนประจำปี 2564 โดยการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา จัดชุด care set ร่วมให้กำลังใจผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดระลอกใหม่ให้กับเครือข่ายธรรมนูญตำบลน่าอยู่จำนวน 6 ตำบล(ชุดแรก) ได้แก่ ต.ป่าขาด ต.โคกม่วง ต.บ่อยาง ต.ปาดังเบซาร์(ทม.) ต.คูหา
"การจัดเลี้ยงแบบบริการตนเองในงานพิธี"นับเป็นกรณีตัวอย่างการทำธรรมนูญระดับจังหวัด ในการจัดเลี้ยงแบบบริการตนเองในงานพิธีต่างๆโดยเฉพาะงานศพของจังหวัดสงขลา จัดเป็นตัวอย่างข้อตกลงระดับจังหวัดที่สามารถดำเนินการจนกลายเป็นเรื่องที่อยู่ในวิถีปกติของผู้คนด้วยเป้าหมายสร้างค่านิยมใหม่ลดความหน้าใหญ่ใจเติบของการจัดเลี้ยงแบบคนใต้ ตามแนวทางของยุทธศาสตร์การสร้างค่านิยมร่วมของวาระพลเมืองของสมัชชาสุขภาพจังหวัดสง
"iMedcare"ประชุมทีม iMedcare กำหนดแนวทางดำเนินงานในช่วง ๓ เดือนจากนี้iMedcare จะเป็น Application ใหม่ที่แตกยอดออกจาก iMed@home ดำเนินการร่วมกันระหว่างมูลนิธิชุมชนสงขลา ดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.และเครือข่ายโดยการสนับสนุนจากอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ภายใต้โครงการพัฒนานวัตกรรมการแพทย์ดิจิทัลสำหรับการแก้ปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์
วันที่ 24 พ.ค.64 พี่อ้น-บุณย์บังอร ศูนย์บ่อยางพึ่งพาตนเอง เล่าว่าปิ่นโตตุ้มตุ้ยเริ่มอย่างเป็นทางการ ด้วยปิ่นโต 11 เถา เลี้ยง 30 ชีวิต ในจำนวนนี้เป็นคนไม่มีบัตรประชาชน ไม่มีเลข 13 หลัก จำนวน 3 คนเมนูอาหารคือ ข้าสวยนึ่งคนละ 2 ถ้วย แกงส้มปลาดุกหน่อไม้(หลังบ้านพี่อ้น) และที่ชอบกันมากคือ ปลาตากแห้งทอดกรอบ หอมอร่อย ตบท้ายความสดชื่นด้วย "ชาโบราณบีบมะนาวสด" เฉลี่ยค่าอาหารรายหัวของวันนี้ประมา
ห้องเรียนสวนผักคนเมือง on zoom "ความมั่นคงอาหารในครัวเรือน"ประจำวันที่ 16 พฤษภาคม 2564
ห้องเรียนสวนผักคนเมือง on zoom "ความมั่นคงอาหารในครัวเรือน" ประจำวันที่ 16 พฤษภาคม 2564มูลนิธิชุมชนสงขลา สมัชชาสุขภาพจังหวัดสงขลา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา จัดกิจกรรม "ห้องเรียนสวนผักคนเมือง on zoom" ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00-12.00 น. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการรับมือโควิดประเดิมด้วยแนวคิด "การสร้างความมั่นคงอาหารในครัวเรือน" โดยวิทยากรหลัก ครูไก่ วุฒิศักดิ์ เพ็ชรมีศรี ผช.เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
"รับมือโควิด ระลอก ๓"ขบวน ๔PW สงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา ชวนเครือข่ายสมาคม มูลนิธิ คณะทำงานร่วมแลกเปลี่ยนสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด ๑๙ ในการประชุมให้ความเห็นต่อการจัดทำเอกสารประกอบสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๑๔สรุปสาระสำคัญดังนี้๑) การป้องกันโควิด พบปัญหาขาดแมส เจล ในกลุ่มประชากรระดับครัวเรือน ตลาดนัด ตลาดสด ห้างร้าน ยังขาดมาตรการคัดกรองเฝ้าระวังที่เข้มข้นต่างจากรอบแรก ขณะเดียวกันการฉีดวัคซีนย