
"ประชุมทีมเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา"วันที่ 11 ตุลาคม 2564ร่วมกับพอช.นัดแกนนำ 13 ชุมชนในพื้นที่ทน.สงขลา กำหนดแนวทางการทำงานร่วมกัน เพื่อรับมือโควิดและการแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยของคนจนเมืองในระยะยาว มีข้อสรุปสำคัญ1.การจัดทีมเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงขยายเครือข่ายมากขึ้น รองรับการทำงานระยะยาว จัดระบบทีมกองเลขาประกอบด้วยทีมประสานงาน(ป้าแต๋ว/พี่อ้น/สมปรารถนา/ศิริรัตน์) และการเงิน(พี่นี/สิริมา/ภาวินี/มย

วันที่ 8 ตุลาคม 2564"อาสาสมัครเส้นด้ายจับมือทน.หาดใหญ่ตรวจเชิงรุก"หารือทีมอาสาสมัครกลุ่มเส้น-ด้าย(Zendai) ที่จะลงพื้นที่หาดใหญ่ในการคัดกรองเชิงรุกค้นหาผู้ติดเชื้อในระดับชุมชน พื้นที่หาดใหญ่โดยเฉพาะชานเมืองที่กำลังมีตัวเลขการติดเชื่้อสูงอยู่ในเวลานี้ได้ข้อสรุปจะจับมือกับทีมของทน.หาดใหญ่ สสอ. ผนึกกำลังกันกระจายการตรวจให้ได้มากที่สุด หนุนเสริมกำลังของทน.หาดใหญ่ที่กำลังดำเนินการอยู่ในเวลานี้ ตั้

ความคืบหน้า "ชุมชนแหลมสนอ่อนกับการภารกิจสร้างความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย"ขั้นตอนที่กำลังดำเนินการเรื่องการทำสัญญาเช่าที่ราชพัสดุโดยตรงกับธนารักษ์ เพื่ออยู่อาศัยของชุมขนแหลมสนอ่อนจำนวน 59 หลังคาเรือน (ที่มาข้อมูล : จากการสำรวจและทำแผนที่มือของชาวชุมชนเมื่อเดือนกันยายน 2564)ขั้นตอนแรกวันที่ 7 ตุลาคม 64 แกนนำมีหนังสือขอเข้าพบนายกเทศมนตรีนครสงขลาพร้อมด้วยอาจารย์คณะสถาปัตยกรรม มทร.ศรีวิชัยเพื

การประชุมคณะทำงาน success ควนลัง ครั้งที่ 2จัดขึ้นในวันที่ 7 ตุลาคม 2564 เวลา 13:00-17:00 น ณ สวนเบญจพฤกษ์มีผู้เข้าร่วมจำนวน 7 ท่านในหัวข้อ การศึกษาและทบทวนการใช้เครื่องมือต่างๆ ในการประเมินความเปราะบางของเมืองควนลัง ในภาวะ ปัญหาภัยแล้ง ของชุมชน คลองต่ำพฤกษชาติ และชุมชนทุ่งเขียวหวานสมาชิกได้ร่วมกันปรึกษาหารือ ถึงเครื่องมือและ วิธีการ ให้ได้มาซึ่งข้อมูล ของชุมชน จากฐานกรอบแนวคิด1.การพัฒนา

"หาดใหญ่ Sandbox Plus เตรียมทำ SOP"วันที่ 7 ตุลาคม 2564 ก่อนขยับเข้าสู่เฟส 2 ยังมีอุปสรรคสำคัญที่จำเป็นจะต้องแก้ปัญหาไปด้วยกันประกอบด้วย1)ตัวเลขผู้ติดเชื้อยังเพิ่มสูงมากขึ้น เริ่มกระจายในระดับครัวเรือน/ชุมชน/สถานประกอบการ จำนวนเตียงเพื่อผู้ป่วยเหลือง-แดงเริ่่มขาดแคลน การแพร่ระบาดอาจลากยาวไปถึงเมษายนปี 65(สสจ.ประเมิน)2)วัคซีน ที่ควรครอบคลุมประชากรไม่น้อยกว่า 70-85% โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง 6

"วงกลาง 6 เมือง SUCCESS ภาคใต้"วันที่ 5 ตุลาคม 2564 พื้นที่ 6 เมืองประกอบด้วยเมืองบ่อยาง เมืองพะตง เมืองควนลัง เมืองปาดังเบซาร์ เมืองละงู เมืองโตนดด้วน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรปผ่านมาทางสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิดด้านหนึ่งส่งผลกระทบต่อการลงศึกษาประเมินความเปราะบางของเมือง แต่อีกด้านก็เป็น

"ผู้ว่าไฟเขียว พร้อมสนับสนุนหาดใหญ่ Sandbox Plus"วันที่ 6 ตุลาคม 2564 ทีมงานหาดใหญ่ sandbox Plus ร่วมกับนายกสาคร ทองมุณี นายอำเภอหาดใหญ่ ประชุมร่วมกับผู้ว่าเจษฎา จิตรัตน์ ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่ง ณ ห้องประชุมอำเภอหาดใหญ่ นับเป็นทีมแรกที่ได้ร่วมนำเสนอแนวทางการทำงานในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ดร.ไพโรจน์ ชัยจีระธิกุล และผอ.พัฒน์ มาศนิยม เป็นตัวแทนนำเสนอโครงการซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมทั้งเฟส 1 เฟส 2 และ

"หาดใหญ่ Sandbox Plus"วันที่ 5 ตุลาคม 2564 นัดประชุมทีมมีข้อสรุปสำคัญ1.วันที่ 6 ตค.เข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัดท่านใหม่ เพื่อนำเสนอโครงการพร้อมกับทีม Songkhla safety school ชุดนำร่อง 13 โรงเรียน บ่ายสี่ ณ ห้องประชุมที่ว่าการอำเภอหาดใหญ่1.1 หาดใหญ่ Sandbox Plus มีเป้าหมายแนะนำโครงการให้รับรู้1.2 ทีมSongkhla safety school มีเป้าหมาย เร่งวัคซีนให้มาตามเป้าหมายเพื่อให้ 13 โรงเรียนนำร่องสามา

"หาดใหญ่ Sandbox Plus เชื่อมโยงกับการศึกษา"วันที่ 4 ตุลาคม 2564เวลา 13.00 น. ทีมงานหาดใหญ่ Sandbox Plus หารือร่วมกับนายอำเภอหาดใหญ่ เพื่อรับทราบแนวทางดำเนินการ ได้ข้อสรุปเห็นชอบการทำงานร่วมกัน โดยเฉพาะการสนับสนุนเภสัชชุมชนมาเป็นส่วนหนึ่งของระบบบริการ ATK พร้อมกับการออกใบรับรองให้กับประชาชน สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ หรือผู้ที่ต้องการ พร้อมกับระบบรายงานผลผ่าน OneChatเวลา 

"เตรียมหาดใหญ่ Sandboxplus เฟส 2"วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ประชุมทีมกันเช่นเคย มีข้อสรุปสำคัญดังนี้1)สปสช.แจ้งว่าสงขลาได้รับชุด ATK จำนวน 1.4 แสนชุด กระจายไปยังระบบบริการ/ร้านยา และอย.ได้เปิดกว้างให้เอกชนสามารถจัดจำหน่ายได้มากถึง 61 ยี่ห้อ จะทำให้ราคาถูกลงตามกลไกการตลาด หลายจุดบริการได้ส่งต่อให้ประชาชนไปจนหมดแล้วในเวลาอันรวดเร็ว แต่พบปัญหารายงานผลในระบบเพียง 30% หลายเทศบาลนำเงินกองทุนสุ