"เมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโกด้านอาหาร"โดยนายเทพรัตน์ จันทพันธ์ สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน ในงานวันพลเมืองสงขลา ๒๕๖๕ วันที่ ๒๗ กันยายน ที่ผ่านมา๑)เมืองสร้างสรรค์มีการจัดตั้งเป็นคณะกรรมการระดับจังหวัดแล้วในปัจจุบัน เมืองสร้างสรรค์เป็นเครื่องมือหนึ่งของยูเนสโกว่าด้วยการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนฐานทุนวัฒนธรรม ทรัพยากรพื้นที่ของชุมชน เป้าหมายเน้นเรื่องของความยั่งยืน ประเทศไท
จังหวะก้าวที่ดี ก้าวต่อไปของเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา คือ การวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมทั้งเมือง ของเมืองบ่อยาง สงขลา โดย พอช.มีกำหนดนัดเปิดเวทีไว้แล้ว ประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน ถึง ต้นเดือนธันวาคม 65ทั้งนี้ทุกชุมชน ต้องลุกขึ้นมาจัดทำข้อมูลของชุมชนตนเองให้เรียบร้อย ส่วนที่ต้องซ่อม ยังพอมีเวลา ส่วนที่ยังไม่ทำ ก็ชวนกันลุกขึ้นมาทำ-ชุมชนตั้งอยู่ในที่ดินกี่ประเภท ที่ราชพัสดุ /ที่ดินเอกชน / ที่ดินกรม
บ่ายวันที่ 2 พฤศจิกายน 2565ผู้บริหารของสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สำนักงานภาคใต้ ได้มาพบกับตัวแทนชาวชุมชนแหลมสนอ่อน จำนวน 4 คนเพื่อรับทราบข้อมูลจากการบอกเล่าและจากเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับประเด็น การออกนโยบายของจังหวัดที่มีผลกระทบต่อการอยู่อาศัยของชาวชุมชนแหลมสนอ่อนการสนทนาในลักษณะถาม - ตอบในวันนี้ ถือเป็นโอกาสดีที่ชุมชนได้รู้จักหน่วยงานเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันทางหน่วยงานชื่นชมในการเรี
อนาคต "คลองสำโรง"ไปช่วยเป็นพิธีกรในงานวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 กิจกรรมสำคัญอยู่ที่การประมวลข้อมูลแนวทางการพัฒนาชุมชนและที่อยู่อาศัยคลองสำโรง โดยนางบุณย์บังอร ชนะโชติ ผู้แทนเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลา และ 25 องค์กรลงนามความร่วมมือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนริมคลองสำโรง ระหว่างคณะกรรมการและคณะทำงานแก้ไขปัญหาคลองสำโรง จังหวัดสงขลา โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ลงนามเป็นสักขีพยานเป้าหมาย1)ความมั
สอนภาษาอังกฤษเด็กๆ ฟรีโดยทีมอาสาสมัครคริสเตียน คุณครูป้าโรสและทีมงานณ ศาลาเอนกประสงค์ชุมชนบ้านหลบมุมเสาร์ 28 ต.ค.2565 เวลา 09.00 -11.00 น.วันนี้เด็ก 15 คน เด็กใหม่ 3 คน มีคนถามว่าเด็กพม่ามาเรียนได้ไหม ตอบ ได้ค่ะยินดีต้อนรับขอบพระคุณผู้บริหารชุมชนบ้านหลบมุมที่ให้การสนับสนุนเอื้อเฟื้อสถานที่ และอุปกรณ์และขอขอบพระคุณผู้ปกครองด้วยค่ะที่นำขนมมาแจกเด็กๆในวัน
วันที่ 26 ตุลาคม 2565รายงานสถานการณ์น้ำไหลไม่ทัน ในพื้นที่เมืองพะตงชุมชนหลบมุมนํ้าไหลจากข้างบนลงมาทางเข้าบ้านในร่องผักนํ้ามาทางด้านหลัง ซึ่งตอนนี้เขาถมที่ทำบ้านจัดสรรมนัส ฉายรจิตพงศ์ บันทึกภาพและส่งข้อมูล
"SUCCCESS บ่อยาง"วันที่ 21 ตุลาคม 2565 คณะทำงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองบ่อยางนัดเครือข่ายมาให้ข้อเสนอแนะต่อร่างยุทธศาสตร์การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเมืองบ่อยาง ณ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทน.สงขลาวิสัยทัศน์ "เมืองบ่อยางมีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง มาร่วมสร้างชุมชนสีเขียวที่มีที่อยู่อาศัยมั่นคง มีอาชีพและรายได้เพียงพอ ภายใน 3 ปี(พ.ศ.2566-2569)พันธกิ
"SUCCESS ควนลัง"วันที่ 20 ตุลาคม 2565 ช่วงบ่าย คณะทำงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองควนลัง ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรปผ่านมาทางสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย นัดภาคีเครือข่ายมาให้ข้อเสนอแนะร่างยุทธศาสตร์การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเมืองควนลังโดยจุดเน้นอยู่ที่การบริหารจัดการน้ำและการสร้างความมั่นคงทางอาหารร่วมกันวิสัยทัศน์ โชุมชนในเขตลุ่มน้ำควนลังมีส่วนร่วมบริหา
"SGS-PGS วางแผนการขับเคลื่อนปี 2565"วันที่ 24 ตุลาคม 2565 เครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา และมูลนิธิชุมชนสงขลา ภายใต้การขับเคลื่อนร่วมสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นัดเกษตรกรที่ผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ซึ่งผ่านการรับรองมาตรฐานSGS-PGS จำนวน 28 แปลงมารับใบรับรองพร้อมกันนั้นได้ร่วมเรียนรู้รูปแบบการจัดการแปลงผัก/สวนผักตั้งแต่การวางแนวปกป้องแปลง การจัดโซนการผลิต/ผังแปลง รูปแบบการผลิต การจัดการปุ๋ย ข้อเสนอแนะ