
"core team ร่วมพัฒนาเมืองสงขลา"วันที่ 15 มกราคม 2566 นัดหารือรอบนอกเตรียมงานเพื่อประสานความร่วมมือในการทำงานร่วมกันในพื้นที่เมืองบ่อยางหรือเมืองสงขลาผ่านระบบประชุมทางไกลรับทราบแผนงาน/กิจกรรมของแต่ละองค์กรในปี 66 ข้อมูลที่ได้จะนำไปสู่การประสานการทำงานระดับชุมชนและภาพรวมต่อไปประกอบด้วย1)มูลนิธิชุมชนสงขลา/โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง/4pwสงขลา2)คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศ

วันที่ 15 มกราคม 2566 เครือข่ายชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา ร่วมกับประชุม พอช. มีภาคีร่วมคือ คณะสถาปัตย์ มทร.ศรีวิชัยพอช.กับ มทร. ศรีวิชัย มีแผนจะเซ็น MOU จะทำงานร่วมกันในการออกแบบผังชุมชน โดยเริ่มต้น ผังชุมชนแหลมสนอ่อน และชุมชนสนามบินวันที่ 20 ม.ค. 66 คณะทำงานจังหวัด จะมีการประชุมที่ศาลากลาง ประเด็น ชุมชนแหลมสนอ่อนพอช.(วันนี้ฝ่ายบริหารของ พอช.มาครบ) ได้ให้การบ้านไว้คือ ชุมชนแห

วันที่ 13 มกราคม 2566 ทีมงานจากคณะแพทยศาสตร์ ม.อ.พร้อมเจ้าหน้าทึ่ pcu สมิหลา มานัดหมายเกี่ยวกับการลงพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อนของนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ ม.อ.ในเดือนกุมภาพันธ์ที่จะถึงตอนนี้กำลังไปดูห้องพักชุมชนสำหรับนักศึกษาจำนวน 23 คนถือเป็นจุดเริ่มต้นการต้อนรับคณะผู้มาเยือนด้วยห้องพักและครัวชุมชนแหลมสนอ่อน ซึ่งจะสอดคล้องกับการวางตำแหน่งชุมชนของเราเป็น " ชุมชนท่องเที่ยว"นอกจากนี้ คุณย

ไปอินเดีย เราไปกันเพียง 4 คน มี 4 เป้าหมาย คล้ายจะไปกันคนละทิศคนละทางคนหนึ่งไปตามรอย พระศิวะนาฏราช ค้นหาคัมภีร์นาฏยศาสตร์คนหนึ่งไป ตามหาถิ่นฐานบ้านเกิดของบรรพชนคนหนึ่งไปตามเส้นทางทางการศึกษาแห่งอิสระภาพของความเป็นมนุษย์และอีกคนหนึ่งไปในฐานะผู้ติดตามและอยากรู้อยากเห็นตามที่เขาตั้งใจไปกันแต่ในใจแอบมีจุดมุ่งหมายส่วนตัวในทางภูมิศาสตร์และสังคม เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์โฆแล้วคิดว่าถึงที่สุดแล้ว

ประชุมเครือข่าย(ชุมชน)ร่วมพัฒนาเมืองสงขลาวันที่ 11 มกราคม 2566 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 31 ชุมชน จาก 55 ชุมชนเขตเทศบาลนครสงขลาเสนอรายชื่อผู้แทนเพื่อร่วมเป็นคณะกรรมการอำนวยการประสานและขับเคลื่อนเมืองสงขลาแบบมีส่วนร่วมตัวแทนชุมชนเขต 1 นายอุทัย พงษ์สมุทร /นายปราโมทย์ ดำวงษ์ตัวแทนชุมชนเขต 2 นายอรรถพล ฟ่ามวัน /นางผุสดี สุวรรณตัวแทนชุมชนเขต 3 นายทม บุหลัน /นายสุรสิทธิ์

วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566 ตัวแทนชุมชนแหลมสนอ่อน พานักศึกษาจาก ม.เกษตรศาสตร์ กทม. ตระเวนดูแนวป่าสนและรอบๆชุมชน เพื่อออกแบบภูมิสถาปัตย์พื้นที่ โดยเน้นการใช้ประโยชน์พื้นที่แหลมสนอ่อนในอนาคต

อบรมการจัดทำระบบข้อมูล Google Workspace for Beginnerจัดโดยสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ภายใต้โครงการถอดบทเรียนกรณีโควิด ๑๙ และพัฒนาต้นแบบชุมชนเข้มแข็งในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ วันที่ ๕ มกราคม ๖๖ ผ่านระบบ Zoom๑)Google Workspace for Beginner เป็นการใช้แพลทฟอร์มเพื่อจัดการชุมชน เป็นการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยชุมชน โดยการสร้างพื้นที่กลางของชุมชน เป็นการพัฒนาระบบข้อมูล

โครงการถอดบทเรียนกรณีโควิด-19 และพัฒนาต้นแบบชุมชนเข้มแข็งในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ กรณีชุมชนแหลมสนอ่อน ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลาภายใต้แผนการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขโดยชุมชนมีส่วนร่วม สนับสนุนโดยสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ(สวสส.)กระทรวง อ.ว. TCELS และสนง.คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และมีมูลนิธิชุมชนสงขลาเป็นพี่เลี้ยงประกอบด้วย 2 กระบวนการสำคัญ ดังนี้กระบวนการ

จดหมายข่าว โครงการ SUCCESS ฉบับที่ 6
ประจำเดือน พฤษภาคม 2565 - เดือนตุลาคม 2565
สามารถดาวน์โหลดฉบับเต็มได้ที่ เอกสารประกอบด้านล่าง

"ชุมชนร่วมกำหนดเป้าหมาย มาตรการแก้ปัญหาสุขภาพ"วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวทีสุดท้ายของปีโครงการถอดบทเรียนชุมชนเขัมแข็งรับมือโควิด-19 ชุมชนแหลมสนอ่อนสงขลา ชุมชนนัดหมายสมาชิกทำกิจกรรมทำบุญตักบาตรเป็นครั้งแรกนับแต่ตั้งชุมชนกันมาจากนั้นจัดประชุมสมาชิก คืนข้อมูลที่ได้จัดทำนิทรรศการประกอบพร้อมแนะนำภาคีความร่วมมือที่จะมาร่วมดำเนินการกับชุมชนและร่วมกับทน.สงขลา ดำเนินการกับภาคีอีกกว่าสิบชุมชนในภาพ