1083 items|« First « Prev 25 26 (27/109) 28 29 Next » Last »|
โดย punyha on 16 พ.ย. 65 09:08

"ต้นไม้ระบบสุขภาพชุมชน"วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 มูลนิธิชุมชนสงขลา ในฐานะพี่เลี้ยงนัดอย่างต่อเนื่องกับคณะทำงานถอดบทเรียนชุมชนแหลมสนอ่อน และเพิ่มตัวแทนชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการ อาศัยโครงการถอดบทเรียนการรับมือโควิด-๑๙ ที่ผ่านมายกระดับการทำงานเริ่มตั้งแต่ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ ให้ชุมชนเติมเต็มข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชน กลุ่มองค์กรในชุมชน ชวนมองไปข้างหน้าข้ามพ้นปัญหาอันเป็นข้อจำกัดภายใ

โดย punyha on 14 พ.ย. 65 12:34

"iMedCare ระบบการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน"นำเสนอโดย ผศ.ดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย ในงานวันพลเมืองสงขลา ๒๕๖๕ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา๑)ในฐานะสถาบันการศึกษาและนักวิจัย ซึ่งงานเริ่มตั้งแต่ปี ๒๕๕๕ โดยเป็นอาจารย์สอนพยาบาลชุมชนแล้วไปเยี่ยมบ้านคนไข้ที่บ้าน บ่อยครั้งพบปัญหาคือนักศึกษาจะเรียนเฉพาะเรื่องบัญญัติ ๑๐ ประการ แต่ในขณะเดียวกันความซับซ้อนและความเจ็บป่วยของผู้ป่วยมีมากกว่านั้น เช่น การกินอาหารหลัก

โดย punyha on 14 พ.ย. 65 11:04

"iMedCare" ดูแลผู้ป่วยที่บ้านวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 ชวนที่ปรึกษา อ.สิริชัย บัวมาก มาช่วยเป็นที่ปรึกษาการพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม iMedCare เติมมุมมองและช่วยตั้งคำถาม เพื่อให้ได้ข้อสรุปสำคัญๆ ยกระดับการทำงานอ.สิริชัยมองว่า ด้วยขนาดตลาด (market size) ๔๐,๐๐๐ คน x ๘,๐๐๐ บ. x ๑๒ เดือน = ๓,๒๐๐ ล้านบาท บวกกับทุนเดิมที่มูลนิธิชุมชนสงขลากับดร.แสงอรุณ ดำเนินการอยู่นี้น่าสนใจ มีความเป็นไปได้มาก บวกกับ

โดย punyha on 14 พ.ย. 65 08:20

"แผนที่และประวัติศาสตร์ชุมชนแหลมสนอ่อน"วันที่ 12 พ.ย.2565 นัดคณะทำงานและตัวแทนชุมชน โครงการถอดบทเรียนกรณีโควิด-19 และพัฒนาต้นแบบชุมชนเข้มแข็งในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ กรณีชุมชนแหลมสนอ่อน ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา อยู่ภายใต้โปรแกรม โการยุติโรคระบาดด้วยนวัตกรรมโ (Ending Pandemics through Innovation, EPI) โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) และส

โดย punyha on 9 พ.ย. 65 11:15

โการขับเคลื่อนเรื่องเมืองและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ของประเทศไทย ความก้าวหน้าและทิศทางเชิงนโยบาย"โดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการ TEI นำเสนอในการประชุมใหญ่ "เมืองรู้ร้อนรู้หนาว" ๔ ตุลาคม ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา ณ โรงแรมเดอะเบค เวเคชั่น ราชมังคลา อ.เมือง จ.สงขลา๑.นโยบายและแผนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ๑๗ เป้าหมาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่องที่สำคั

โดย punyha on 9 พ.ย. 65 11:14

"บ้านหลบมุมชุมชนแบบใหม่"นำเสนอโดย นายพัชฐ์สิชณ ศรประสิทธิ์ กำนันตำบลพะตง ในงานวันพลเมืองสงขลา ๒๕๖๕ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา๑) ตำบลพะตงประกอบด้วย ๘ หมู่บ้านมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒ ส่วนคือเทศบาลตำบลพะตงและองค์การบริหารส่วนตำบลพะตง มีสถานสาธารณสุข ๓ แห่งคือ มีศูนย์แผนชุมชนเทศบาลตำบลพะตง มีสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล มีภาคอุตสาหกรรม ๑๗ แห่ง

โดย punyha on 9 พ.ย. 65 11:04

"ความเปราะบางเมืองปาดังเบซาร์"นำเสนอโดย คุณอรรตพล วิชิตพงษ์ รองนายกเทศมนตรี คณะทำงาน SUCCESS เมืองปาดังเบซาร์ ในงานวันพลเมืองสงขลา ๒๕๖๕ วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา๑.ปาดังเบซาร์มีพื้นที่ ๑๑.๒๒ ตารางกิโลเมตร ทิศตะวันตกติดกับประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันออกติดกับอำเภอสะเดา ทิศใต้ติดกับประเทศมาเลเซียบางส่วน ทิศตะวันออกติดกับอำเภอคลองหอยโข่ง ปาดังเบซาร์เป็นที่ราบลุ่มในหุบเขา๒.การเปลี่ยนแปลงสภาพภ

โดย punyha on 9 พ.ย. 65 11:02

"ความเปราะบางของเมืองพะตง"นำเสนอโดยคุณรัชนี บุญสกันท์ ในงานวันพลเมืองสงขลา ๒๕๖๕ วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา๑.เมืองพะตงประกอบด้วยคนดั้งเดิมในพื้นที่และคนที่อพยพมาจากที่อื่น ตำบลพะตงอยู่ห่างจากอำเภอหาดใหญ่ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศบาลตำบลและ อบต.๒.การศึกษาความเปราะบางของชุมชนต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใช้บริบทพื้นที่ที่เป็นจุดรวมของความหลากหลายของชุมชนเมือง

โดย punyha on 9 พ.ย. 65 11:00

"สงขลาอีก ๕ ปีข้างหน้าจะรับมือกับวิกฤตอย่างไร"กล่าวรายงานชี้แจงวัตถุประสงค์ พัฒนาการ และแนวทางดำเนินการในอนาคต โดยดร.สมพร สิริโปราณานนท์ รองประธานคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต ๑๒ และกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ในงานวันพลเมืองสงขลาปี ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา๑.การขับเคลื่อนงานวันพลเมืองสงขลา มีมูลนิธิชุมชนสงขลาเป็นเส้นด้ายและเข็มในการถักทอเครือข่าย ร่วมจัดองค์ความรู้ในอดีตจ

โดย punyha on 9 พ.ย. 65 10:59

"ความเปราะบางเมืองบ่อยาง"คุณบุณย์บังอร ชนะโชติ ตัวแทนคณะทำงานเมืองบ่อยาง นำเสนอในงานวันพลเมืองสงขลา ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมาทั้งนี้ผลกระทบของกลุ่มเปราะบางที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มคนจนเมือง กลุ่มที่เข้าไม่ถึงสิทธิต่างๆ คนต่างถิ่นต่างชาติ ประชากรแฝง คนพิการ ผู้สูงอายุ เด็ก ส่วนใหญ่พบว่าเมื่อเกิดภัยพิบัติกลุ่มเหล่านี้มักได้รับผลกระทบเป็นกลุ่ม

1083 items|« First « Prev 25 26 (27/109) 28 29 Next » Last »|
personมุมสมาชิก

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน.

เครือข่าย

เครือข่ายมูลนิธิชุมชน