
เวทีสานเสวนา โความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสงขลาอย่างยั่งยืนโ ซึ่งจัดโดย มูลนิธิชุมชนสงขลา ที่สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เมื่อ 8 มกราคมที่ผ่านมา มีผู้สนใจเข้าร่วมจากภาคราชการ ภาคประชาสังคม นักธุรกิจ นักวิชาการ และสื่อมวลชน อย่างล้นหลามกว่า 80 คนบรรยากาศเป็นไปอย่างเป็นกันเอง กิจกรรมเริ่มจากรวมกลุ่มชมหอประวัติพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก่อนเข้าห้องประชุมแบบกลางสวน ผู้เข้าร่วม ได้พบปะ ดื่มทาน

พอเอ่ยถึง "สวนสาธารณพรุค้างคาว" ไม่ทราบว่ามีใครรู้จักบ้างไหมครับ?หลายคนคงส่ายหน้า แต่ถ้าบอกต่ออีกว่าอยู่ในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ ผมว่าหลายคนอาจร้องอ๋อ! ขึ้นมาบ้างแต่ผมเดาว่าคนหาดใหญ่เองบางคนก็อาจจะมิเคยได้ยิน เนื่องจากยังเป็นสวนสาธารณะที่เพิ่งเกิดใหม่ แต่โดยชื่อแล้ว มีมานานพอสมควรพรุค้างคาวนี่ว่าไปติดเขตอำเภอหาดใหญ่นะครับ อย่างไรก็ดี สถานที่แห่งนี้ ผมว่าเด็กโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย หรือเด็ก ญ

รายการสมัชชาออนแอร์ 19 ธันวาคม 2552 ทางสถานีวิทยุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ FM88.0 MHz ดำเนินรายการโดย บัญชร วิเชียรศรี และ อรุณรัตน์ แสงละออง ได้เชิญกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ได้แก่ ชิต สง่ากุลพงศ์ ประธานมูลนิธิชุมชนสงขลา ชัยวุฒิ บุญวิวัฒนาการ กรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ชาคริต โภชะเรือง ผู้จัดการมูลนิธิชุมชนสงขลา ชัยวุฒิ เกิดชื่น สุวรรณี เกิดชื่น ตัวแทนภาคสื่อ ตัวแทนจากหา

วิทยาลัยทคนิคหาดใหญ่ ให้นักศึกษาประดิษฐ์ตู้บริจาคพูดได้ มอบให้องค์กรการกุศล เช่น วัด ศาลเจ้า หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ มาหลายปี แต่ที่มอบให้มากที่สุด คือมอบให้วัด เป็นโครงการที่น่าชื่นชม อย่างสำคัญที่สุด โครงการนี้นอกจากส่งเสริมทักษะตามหลักสูตรแล้ว ยังมีผลข้างเคียงในแง่คุณธรรมเกิดขึ้นกับจิตใจนักศึกษาด้วย เพราะขณะประดิษฐ์ชิ้นงาน พวกเขาก็คงคิดถึงการให้ตู้บริจาคพูดได้ เป็นชิ้นงานนักศึกษาในวิชาระ

เมื่อวันที่ 15 พย. ที่ผ่านมา ณ ศาลเจ้าพ่อกวนอู ถนนนางงาม อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ได้มีความร่วมมือของหลายภาคส่วนในการจัดเวทีรับฟังความเห็น การจัดทำแผนพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่า โดยเจ้าภาพหลักได้แก่ การเคหะแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เทศบาลนครสงขลา ภาคีคนรักสงขลาและมูลนิธิชุมชนสงขลาอ.จเร สุวรรณชาติ ผู้รับผิดชอบหลักชี้แจงจุดประสงค์โครงการว่า ต้องการให้เกิดแผนพัฒนาและฟื้น

การระดมทุนของมูลนิธิชุมชนภูเก็ตภูเก็ตใช้วิธีแข่งเป็ดยางระดมทุน โดยประชาสัมพันธ์ให้ร่วมซื้อเป็ดสีเหลืองในสนนราคา 5 ดอลลาห์ต่อตัว จะได้สิทธิ์เข้าแข่งเป็ดยาง เจ้าของเป็ดยางตัวชนะเลิศจะได้เข้าพักโรงแรมในเครือลากูนามูลค่าเฉียดแสนบาท มูลนิธิได้เงิน โรงแรมได้ประชาสัมพันธ์ เครือข่ายองค์กรสาธารณกุศลได้มีส่วนร่วม แฮปปี้กันทุกฝ่ายสัมมนาเครือข่ายมูลนิธิชุมชนงานนี้ผู้เข้าร่วมราว ๆ 40 คน มาจากมูลนิธิชุมชน

ช่วงค่ำของวันที่ 6 พฤศจิกายนที่ผ่านมา หาดใหญ่เจิ่งนองไปด้วยสายน้ำ ฝนตกหนักผิดปกติ ต่อเนื่องมาสองวันแล้ว ไม่นานนักก็ท่วมขัง ผมกลับมาจากสงขลา ขับรถฝ่าสายฝนที่ยังโปรยเม็ดมาตลอดทาง
นึกกังวลถึงนัดหมายที่ภูเก็ต เราตกลงกันว่าจะออกเดินทางแต่เช้ามืด แล้วนี่เราจะไปได้อย่างไร เปิดวิทยุฟังข่าว คลองอู่ตะเภากับคลอง ร. 1 น้ำกำลังจะล้นตลิ่ง
ฝนตกหนักทีไร หัวจิตหัวใจเต้นแรงทุกที ทำไงได้ล่ะครับ คนหาดใหญ่ผ่านประสบการณ์เลวร้ายจากเหตุน้ำท่วมมาหลายครั้ง ทำให้ไม่นึกประมาท แต่งานสัมมนาเครือข่ายมูลนิธิชุมชน 8-9 พฤศจิกายนนัดหมายกันไว้ล่วงหน้าเสียด้วย
ด้วยแนวคิดพื้นฐานของวิทยาลัยชุมชน ซึ่งเป็นสถานศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม อีกทั้งธรรมชาติของวิทยาลัยชุมชนจะต้องออกแบบระบบการศึกษาให้ผู้เรียนได้มี โอกาสเข้าถึงมากที่สุดในระดับชุมชน และวิชาที่เปิดสอนตอบสนองความต้องการของชุมชนทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม กำหนดนโยบายโดยชุมชนผ่านคณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนในการเปิดและปิดหลักสูตร รวมทั้งการสนับสนุนโดยชุมชน
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ครั้งที่ 4/2552วันที่ 22 สิงหาคม 2552 เวลา 14.00-16.00 น.ณ วัดคลองแห อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาผู้มาประชุมพระครูปลัดสมพร ฐานธมฺโมนายชิต สง่ากุลพงศ์นายอรัญ จิตตะเสโนนายพิชัย ศรีใสนามสมพร สิริโปราณานนท์นายชาคริต โภชะเรืองนางสาวศมพรัตน์ ขุนทิพย์เริ่มประชุมเวลา 17.00 น.วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบเริ่มประชุมเวลา คุณชิต
หาดใหญ่บ้างว่าเป็นเมืองไร้ราก บ้างว่าเป็นเมืองที่ราษฎรร่วมสร้าง บ้างว่าเป็นเมืองชุมทาง หลากความเห็นแล้วแต่มุมมองจะส่องสะท้อนความหลากหลายที่ว่าด้านหนึ่งก็เป็นจุดเด่น...มีคนจีน มีนักธุรกิจ ที่พึ่งพิงกันเอง พึ่งพากันเอง ไม่มีเหตุระเบิด น้ำท่วม ไฟไหม้รุนแรง หาดใหญ่ฟื้นตัวได้ด้วยตนเองไม่ยาก คนหาดใหญ่ไม่ค่อยหวังพึ่งการเมืองความหลากหลายที่ด้านหนึ่งก็เป็นจุดด้อย...ตัวใครตัวมัน เห็นแ่ก่ผลประโยชนฺเฉพาะก