คืนข้อมูลสถานการณ์ชายฝั่งหาดม่วงงามและออกแบบแนวทางการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการกัดเซาะชายฝั่ง

  • photo  , 960x720 pixel , 102,949 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 75,874 bytes.
  • photo  , 960x1280 pixel , 186,410 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 68,474 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 69,947 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 80,799 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 73,881 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 86,421 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 87,291 bytes.
  • photo  , 2048x1536 pixel , 195,890 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 82,440 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 84,803 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 89,252 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 90,321 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 89,225 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 65,483 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 74,180 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 63,719 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 58,978 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 65,516 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 76,510 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 77,049 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 96,016 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 70,857 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 72,351 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 103,593 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 101,990 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 81,732 bytes.
  • photo  , 960x720 pixel , 95,938 bytes.

วันที่ 26 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมชั้น 2 เทศบาลเมืองม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

งานประชุมเชิงปฏิบัติการ "คืนคืนข้อมูลสถานการณ์ชายฝั่งหาดม่วงงามและออกแบบแนวทางการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการกัดเซาะชายฝั่ง"

บทสรุปเวทีวันนี้

1.การเปลี่ยนเเปลงสภาพภูมิอากาศจากการทบทวนย้อนหลัง 30 ปี ในปัจจัยต่างๆพบว่า มีการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล ที่มีเเนวโน้มสูงขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญต่อพื้นที่ชายหาดม่วงงาม เฉลี่ย 2 เซนติเมตรต่อปี (10ปีจะทำให้หาดหายไป 1.9 เมตร)

2.การเปลี่ยนเเปลงชายฝั่งนั้นชัดเจนว่า บริเวณชายหาดนั้นมีจุดวิกฤติต่อการกัดเซาะชายฝั่งรุนเเรงมาก 300-350 เมตร

3.สะพานปลายมีผลต่อการเปลี่ยนเเปลงชายฝั่งในด้านใต้ทำให้ทับถมอย่างมีนัยยะสำคัญ ส่วนเกิดการกัดเซาะด้านใต้บริเวณจุดวิกฤติในอัตราที่น้อย เเต่กัดมายาวนานทำให้ชายหาดค่อยๆหายไป

4.ชุมชนได้กำหนดพื้นที่เสี่ยงภัย ซึ่งเเบ่งเป็น5ระดับจากความเสี่ยงมาไปสู่น้อยโดยใช้ข้อมูลที่สำรวจเเละวิเคราะห์โดยใช้เเบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เเละร่วมกันเสนอมาตรการในเเต่ละพื้นที่เสี่ยงภัย ซึ่งทำให้มีมาตรการที่เเตกต่างกันออกไปในระยะทางศึกษา 1 กิโลเมตร

5.การคุยวันนี้ทำให้เห็นกลไกความร่วมมือ เเละกลไกปฏิบัติการในช่วงมรสุมที่จะมีการเเจ้งเตือน ตั้งรับ เเละการปรับตัวต่อการเปลี่ยนเเปลงชายฝั่ง โดยมีหน่วยงานทั้ง อุตุ ปภ. เทศบาลเข้ามาหนุนเสริมเเละทำกลไก

6.ในงานเก็บข้อมูลวิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง ชุมชนเสนอติดระดับน้ำเเละติดตามการเปลี่ยนเเปลงชายหาดค่อเนื่องเพื่อเป็นข้อมูลฐานในการสนับสนุนกลไกการรับมืแต่อการเปลี่ยนเเปลงชายฝั่งหาดม่วงงาม

งานหลังจากนี้ของทีมนักวิจัย

1.ติดตั้งระดับน้ำในพื้นที่ชุมชน เพื่อติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำ เพื่อผนวกกับข้อมูลอุตุในการเตือนภัยสำหรับชุมชน

2.เอาเเผนที่เสี่ยงภัยกับมาตรการไปหารือกับกลุ่มอื่นๆ เช่น สตรี ผู้สูงอายุ เเละประมง รวมถึง ผู้บริหารเพื่อเสนอเเนะเพิ่มเติมเเละจัดทำคู่มือการรับมือภัยขึ้นมา

3.ชุมชนเสนอให้มีการทำความร่วมมือกับหน่วยงาน ในเวทีสุดท้ายที่จะคืนข้อมูลเพื่อปิดโครงการ

อภิศักดิ์  ทัศนี  บันทึกเรื่องราว

personมุมสมาชิก

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน

เยือนอเมริกา ดูงานมูลนิธิชุมชน.

เครือข่าย

เครือข่ายมูลนิธิชุมชน