
สวนเบญจพฤกษ์ป้าทุม ลุงยูร ใช้ชีวิตวัยเกษียณอย่างเต็มคุณค่า ปลูกผักแบบสวนผักคนเมืองหลากหลายรูปแบบ จัดการขยะเปียกมาทำปุ๋๋ย ใช้น้ำหมักชีวภาพปรุงดินพร้อมปลูก NPK หาได้จากรอบตัว ปรับสภาพดินไปทีละจุด หรือไม่ก็ทำแบบยกแปลงใหม่ ช่วงหลังไม่อยาก้มจึงหันมาทำผักยกแคร่ทำไป เรียนรู้ไป จนเกิดประสบการณ์ กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ให้คนสนใจเมื่อจัดระบบลงตัว สวนผักจึงกลายเป็นสวนปราณีต ชวนชม ชวนมอง ค่อยๆแต่งเติมไปทีล

"ชึวิตสีเขียวอ่อน"14 กุมภา 64 สมาชิกชุมชนแหลมสนอ่อนประมาณ 40 กว่าชีวิต ตื่นเช้าลุกขึ้นมาพัฒนาพื้นที่ชุมชนให้สะอาด น่าอยู่ โดยแบ่งกันเป็น 2 ทีมคือ ทีมเบื้องหน้า ถือไม้กวาด มีดพร้า และจอบเสียมออกแรงพัฒนาพื้นที่รอบๆชุมชน กับ ทีมเบื้องหลัง(ไม่ปรากฎในรูป)ช่วย พัฒนาอยู่ที่บริเวณบ้านของตนเอง แต่ก็ยังมีน้ำใจส่งเสบียงมาหนุนเสริมทีมเบื้องหน้าตั้งแต่อาหารมื้อเช้า น้ำดื่ม น้ำอัดลม และขนุนสุกจากต้น เพื

15 กพ. 64 โครงการบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืน ปีงบฯ 2564 กับกิจกรรมการขายขยะทุกวันที่ 15 เพื่อสมทบโกองทุนช่วยเหลือคนยากลำบากตำบลนาหว้า.โวันนี้ได้เงิน 1,260 บาท (เงินกองทุนรวมทั้งสิ้น ประมาณ 4,000 กว่าบาท)ขอบคุณทุกความร่วมมือCr.อภิชัย เกื้อก่อบุญธรรมนูญตำบลน่าอยู่ตำบลนาหว้า.

"เตรียมจัดเวที SLD โครงการSUCCESS ภาคใต้"เมื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ 2564 ที่ผ่านมานัดหมายแกนนำ ๖ เมืองในสงขลา สตูล พัทลุง เตรียมความพร้อมในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายระดับเมืองที่จะประเมินความเปราะบาง ประกอบด้วยเมืองบ่อยาง เมืองพะตง เมืองควนลัง เมืองปาดังเบซาร์ เมืองละงู เมืองควนขนุนการสร้างการมีส่วนร่วมตั้งแต่แรกเริ่มเป็นกระดุมเม็ดแรก ทำให้ภาคีเครือข่ายได้รับทราบความเป็นมา

"วัดคลองแห"วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔กรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลาประชุมประจำเดือนเยือนถิ่นกำเนิด อันเป็นที่ตั้งของมูลนิธิชุมชนสงขลาตั้งแต่ปี 2552ย้อนหลังไป ท่านพระครูสมพร มาเป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี 2541 ต่อมาได้ตั้งกลุ่มรักษ์คลองแห ทำกิจกรรมรักษาสายคลองที่เริ่มมีน้ำเสียจากโรงงานน้ำยาง และจากชุมชนเมือง ปี 2548 ร่วมกับผม ครูเสริฐ พี่ดุก จ่าคม พี่ดม เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพจังหวัดและเมืองน่าอยู่

"ฝายดักขยะวัดคลองแห"ราวปี 2548 ผม พี่ดุก จ่าคม ร่วมกับกลุ่มรักษ์คลองแห ได้ทดลองสร้างฝายเพือดักขยะจากเมืองหาดใหญ่ ที่มาในพื่้นที่ ขยะจำนวนมากโดยเฉพาะหน้าฝนมีทั้งพลาสติก กระดาษ ฟูกนอน ทีวี. สาระพัดไหลมากับสายน้ำ สร้างปัญหากระทบกันโดยแทบจะไม่มีใครมาแก้ไขฝายรอบแรกทำด้วยไม้ ไม่ประสบความสำเร็จ พังไปกับความแรงของน้ำและขยะที่อัดแน่น ต่อมาทำเป็นฝายหัวเฉียง ใช้เสาเข็มวางเพื่อความแข็งแรง แต่ก็ไม่อาจทานคว

"ตำบลคุ้มครองเด็ก"เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ผ่านมา มีโอกาสเข้าพบ คุณนิตินัย อุทัยรังษี หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวจ.สงขลา หลังจากที่ท่านชวนมาร่วมงานตำบลคุ้มครองเด็ก ที่มีเป้าหมายการขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนเชิงบูรณาการโดยใช้ตำบลคุ้มครองเด็กเป็นฐาน คุ้มครองเด็กจากการถูกกระทำ ป้องกันการเกิดปัญหา และส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ นำไปสู่การกำหนดมาตรฐานการขับเคล

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 (วันที่4 แล้วของการลงพื้นที่)เป้าหมายในวันนี้คือการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและการตลาดของเกษตรกรในเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลาให้เสร็จสิ้นตามแผนที่วางไว้สวนที่เราลงไปศึกษาในวันนี้ได้แก่ สวน9ไร่เกษตรผสมผสาน สวนผักภูธาร สวนผักมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ และสวนทรัพย์สุวรรณ (ตามแผนแล้วจะมีสวนปราถนาด้วยแต่เพราะมีข้อจำกัดบางอย่างจึงทำให้พวกผมไม่ได้ไป)สรุปแล้วการลง

ภูมิปัญญาแตงโมจะนะโ สู้ภัยนิคมอุตสาหกรรมวันเสาร์เช้า (6 กุมภาพันธ์ 2564)ผมมาเดินเยี่ยมแปลงปลูกแตงโมที่จะนะ ลูกแตงกำลังงาม ผืนดินที่นี่คือใจกลางนิคมอุตสาหกรรมจะนะขั้นตอนการปลูกแตงโมไม่ยาก ชาวบ้านจะเพาะเมล็ดในถาดเพาะก่อน จนแตกยอดจึงจะเอาลงดินสรรพสิ่งล้วนพึ่งพากัน มีผึ้งมาทำรังที่ต้นมะม่วงหิมพานต์ในสวนแตง ชาวสวนเขาชี้ให้ผมดู บอกว่านี่คือธรรมขาติที่ลงตัว&n

"ประชุมคณะทำงานเมืองบ่อยาง โครงการ SUCCESS"เข้าสู่ปีที่ ๒ ของโครงการ SUCCESS ของพื้นที่ภาคใต้ ภายใต้การสนับสนุนของสหภาพยุโรป คณะทำงานเมืองบ่อยาง ๑ ใน ๖ เมืองของโครงการที่มีตัวแทนชุมชนในพื้นที่โดยการนำของศูนย์บ่อยางพึ่งพาตนเอง ชุมชนแหลมสนอ่อน สมาคมเครือข่ายสุขภาพผู้สูงอายุฯ นัดหมายกันวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ณ ห้องประชุมโรงเรียนชัยมงคลวิทย์ทบทวนแนวคิดของโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ การบริห