วันที่ 30 เมษายน 2566 มีการจัดประชุมตัวแทนครัวเรือนชุมชนสนามบินจำนวน 30 คนสิ่งที่ได้จากการประชุมครั้งนี้1.มีสมาชิกชุมชนจำนวน 8 คนอาสาเป็นคณะทำงานของชุมชน2.ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 12 ใน 48 หลังคาเรือนที่กำลังประสบปัญหาความไม่มั่นคงด้านที่อยู่อาศัยได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่า ต้องการจะอาศัยอยู่ในที่ดินเดิม ชุมชนเดิมแต่ยินดีที่จะปรับปรุงหรือกาอสร้างอาคารใหม่เพื่อให้ดูสวยงามและสะอาดตาทั้งนี้
วันที่ 29 เมษายน 2566 คณะทำงานจัดการน้ำตำบลโตนดด้วนประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจบทบาทหน้าที่และร่างแบบเก็บข้อมูลณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโตนดด้วน เวลา 13.00 น.ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการประชุมดังต่อไปนี้1.เพื่อกำแผนการดำเนินงานของคณะปฏิบัติการน้ำระดับตำบล 1แผน2.กำอหนหนดแผนการลงสำรวจและการจัดทำแผนผังภูมินิเวศน์ 1 แผน (เก็บข้อมูล การวิเคราะห์ การสรุปผล การนำเสนอผลและการคืนข้อมูล
วันที่ 30 เมษายน 2566ประชุมแกนคณะทำงานกลางของเมืองพะตง ประกอบด้วย รองนายกเทศบาลตำบลพะตง กำนันตำบลพะตง แกนนำชุมชนหลบมุม ตัวแทนทีมบริหารจัดการ ร่วมประชุมหารือและวางแผนการดำเนินงานโครงการนำร่องมีเวลาดำเนินงานอีก 7 เดือน (พ.ค. - ธ.ค.66)กำหนดนัดหมายประชุมร่วมกับทีมแกนนำชุมชนหลบมุมเพื่อออกแบบการทำงานและจัดทำแผนชุมชน ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2566 และในวันที่ 3 พฤษภาคม 2566 มีตัวแทนร่วมนำเสนอเรื่องราวจากชุม
บ่ายวันที่ 28 เมษายน 2566ดร.กมล พรหมสาขา ณ สกลนคร ผู้อำนวยการศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก และ นายสมภพ วิสุทธิศิริ ผู้อำนวยการส่วนพยากรณ์ พร้อมด้วยบุคลากรลงพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อนเพื่อปรึกษาหารือการทำงานร่วมกันกับเครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลาและชุมชนเครือข่ายในฐานะเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาตำบลบ่อยางบรรยากาศเป็นไปด้วยความอบอุ่นและชื่นใจด้วยเครื่องดื่มเย็นจากฝีมือแม่ครัวปิ่นโตตุ้มตุ้ย
"เปิดเวทีเรียนรู้ social lab พื้นที่ปฏิบัติการทางสังคมเมืองบ่อยาง"วันที่ 28 เมษายน 2566 สนง.คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)จับมือกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.) โดยการประสานงานของมูลนิธิชุมชนสงขลา ชวนภาคีเครือข่ายที่ทำงานในพื้นที่เมืองบ่อยาง ทน.สงขลาและในจังหวัดสงขลา มาร่วมแลกเปลี่ยน โดยมีนายกวันชัย ปริญญาศิริ ให้การต้อนรับและร่วมแลกเปลี่ยนความเห็น สร้างความร่วมมือในการทำงาน ณ ห้องประชุมชั้น 2 ทน.
ประชุมจัดทำแผนเพื่อการบริหารจัดการน้ำและพัฒนาเครือข่ายผู้ใช้น้ำเพื่อการเกษตรในเขตลุ่มน้ำควนลังวันที่ 25 เมษายน 66 ณ โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาเมืองควนลังกับการบริหารจัดการน้ำปัญหาน้ำแล้งและอุณหภูมิที่สูงขึ้นต่อเนื่องตลอด 30 ปีที่ผ่านมา (ข้อมูลสถิติศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก) ส่งผลกระทบต่อกลุ่มเปราะบาง โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่เมืองควนลัง ทำให้การทำการเกษตรไม
วันจันทร์ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๖สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ได้ส่งเจ้าหน้าลงพื้นที่ หมู่ที่ ๘ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการสร้างฝายมีชีวิตตามโครงการนำร่องเพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำสายห้วยขี้ค่าง นำไปสู่ความเข็มแข็งของกลุ่มองค์กรอาชีพชุมชนเมืองโตนดด้วนชนิศภณ สุขแก้ว รายงาน
ประชุมคณะทำงานโครงการนำร่องฯ สร้างการมีส่วนร่วมระดับตำบลเครือข่ายเมืองโตนดด้วน ภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงและเปลี่ยนแปลงเมือง(Success)วันที่ 21 เมษายน 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์วัดโคกโดน ม.2 ต.โตนดด้วน อ.ควนขนุน จ.พัทลุง"ชุมชนต้องรู้เรื่องน้ำ แผนที่เส้นทางน้ำ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาศัยภูมิปัญญาในการฟื้นฟูบริหารจัดการเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ทำอย่างไรจะเก็บน้ำไว้ใช้ให้ได้มากที่สุด ในช่วงหน้า
"ความร่วมมือเศรษฐกิจสร้างสรรค์: เกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัยจังหวัดสงขลา"วันที่ 24 เมษายน 2566 เครือข่าย 4PWสงขลาเป็นเจ้าภาพประชุมทีมเล็กเครือข่ายความร่วมมือในจังหวัดสงขลา ณ ห้องประชุมชั้น 2 สนง.เกษตรจังหวัดสงขลา เพื่อกำหนดแนวทางการทำงานร่วมกัน โดยมีหน่วยงานต่างๆเข้าร่วม ได้แก่ เกษตรจังหวัด สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัด สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัดสนง.สาธารณสุขจังหวัด YSF สมาคมพัฒนาชุมชนสงขลายั่งยืน
"SUCCESS เมืองบ่อยาง"วันที่ 8 เมษายน 2566 ทีมงาน SUCCESS เมืองควนลังและมูลนิธิชุมชนสงขลา นัดชุมชนบาลาเซาะห์เก้าแสน มาร่วมรับฟังความเป็นมาของโครงการ และร่วมเสนอคณะทำงานร่วมดำเนินกิจกรรม ณ บารายชุมชนชุมชนแห่งนี้เป็น 1 ใน 4 ชุมชนเตรียมพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ทน.สงขลา ฐานประชากร 880คน 184 ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นชุมชนมุสลิม ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ค้าขาย รับจ้าง และทำงานโรงงา