
"การเดินทางจากแปลงผักสู่ครัว"การผลิตแบบอินทรีย์ในพื้นที่เมืองใช่ว่าจะทำไม่ได้ที่นี่สวนลุงนุ้ยป้าสาว เริ่มด้วยการเตรียมดิน ออกแบบแปลง จัดโซนพื้นที่ผลิต ด้านหน้าเป็นจุดรับแขกต้องการความสวยงามดึงดูดสายตา ผักสวนครัวจึงถูกปลูกบริเวณด้านหลัง พร้อมจุดทำดิน ทำปุ๋ย ด้านหน้าซ้ายมือเป็นจุดต้อนรับผู้มาเยือน จัดเป็นพื้นที่ร้านกาแฟ น้ำปั่นผัก น้ำผลไม้ พร้อมจุดจำหน่ายปัจจัยการผลิต จำพวกดิน ปุ๋ยไส้เดือน

"SUCCESS ปาดังเบซาร์"วันที่ 12 ตุลาคม 2565 คณะทำงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองปาดังเบซาร์ นัดภาคีเครือข่ายมาให้ข้อเสนอแนะต่อร่างยุทธศาสตร์เมือง ที่ได้นำผลการประเมินความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมายกร่างได้ข้อสรุปดังนี้วิสัยทัศน์ โเมืองปลอดภัย ไร้มลพิษ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโแผนยุทธศาสตร์ 3 ปี(พ.ศ.2566-2569) ประกอบด้วย1.ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริ

วันที่ 13/10/65 ได้ลงพื้นที่สำรวจชุมชน บาลาเซาะห์ , หลังรพ.จิตเวช และ หมู่3(เขารูปช้าง) ร่วมกับแกนนำชุมชน ขบวนเครือข่าย จนท.ภาคใต้ อาจารย์และนักศึกษาจาก มทร.สงขลา ได้ร่วมเก็บสำรวจข้อมูลเบื้องต้นด้วยตารางสำรวจข้อมูลครัวเรือน เก็บพิกัด x,y เก็บสำรวจขอบเขตชุมชน สภาพปัจจุบันของชุมชน และได้พูดคุยแลกเปลี่ยนสถาพปัญหา/แนวทางแก้ไข และนัดหมายต่อวันที่ 14/10/65 เวลา 13:00น. เพื่อวิเคราะห์แนวทาง

เที่ยวสวนควนลังU2T for BCG สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตำบลควนลัง ร่วมกับเครือข่ายสวนผักคนเมืองควนลัง มูลนิธิชุมชนสงขลา ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ต่อยอดแหล่งเรียนรู้ สวนเกษตรในพื้นที่ตำบลควนลังด้วยการท่องเที่ยววันนี้ (13 ตุลาคม 2565) เป็นการทดสอบโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อการเรียนรู้ one day trip โดยอาสาสมัครนักท่องเที่ยวและทีมงานร่วม 20 คน09.00 น.เริ่มที่สวน

"ยุทธศาสตร์เมืองโตนดด้วน"วันที่ 10 ตุลาคม 2565 คณะทำงานโครงการ SUCCESS เมืองโตนดด้วนนำเสนอร่างยุทธศาสตร์อันเกิดจากการประมวลผลการประเมินความเปราะบางของเมืองที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้กับภาคีเครือข่ายภาคส่วนต่างๆ อาทิ ทต.โตนดด้วน เกษตรอำเภอ ม.ทักษิณ กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน เกษตรกร อสม. ชุมชน ณ อารียาปาร์คที่ประชุมเห็นร่วมในปัญหาการบริหารจัดการน้ำ การจัดการขยะ การรับมือภัยพิบัติและการพัฒนาที

"เมืองรู้ร้อนรู้หนาว เตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง" ประชุมใหญ่ประจำปี 2565 ภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อการเปลี่ยนแปลงเมือง (โครงการ SUCCESS)วันที่ 3-7 ตุลาคม 2565 ณ จังหวัดสงขลาวันที่ 3 ตุลาคม 2565 เครือข่าย 12 เมืองนำเสนอและร่วมแลกเปลี่ยนผลการประเมินความเปราะบางของเมือง"โลกกำลังรวน"วันที่ 4 ตุลาคม 2565 การประชุมใหญ่เครือข่ายเมือง SUCCESS ภาคอีสานและภาคใต้ ภายใต้การสนับ

"SUCCESS เมืองบ่อยาง"วันที่ 30 กันยายน 2565 ทีมงานเมืองบ่อยาง ภายใต้โครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง(SUCCESS) โดยการสนับสนุนจากสหภาพยุโรปผ่านมาทางสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และมูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะพี่เลี้่ยงภาคใต้ นำเสนอร่างยุทธศาสตร์เมืองให้กับสมาชิกในเมืองร่วมให้ข้อเสนอแนะ เติมเต็ม ณ ที่ทำการกลุ่มออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อนวิสัยทัศน์ "เมืองบ่อยางมีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง มาร

"งานวันพลเมืองสงขลาปี 2565 วันที่สอง"วันที่สองของงานวันพลเมืองสงขลา ตรงกับวันที่ 28 กันยายน 2565 ภาคเช้า ณ ห้องเพิ่มพูน โรงแรมเบญจพร มีผู้เข้าร่วม 140 คน ในห้องย่อยหลังจากนำเสนอ VTR ผลการดำเนินงานขององค์กรภาคีความร่วมมือ ด้าน "สังคมเป็นสุข" มีการนำเสนอกรณีศึกษา สำคัญ โดยเฉพาะการรับมือโควิดที่ผ่านมาเริ่มด้วย Hatyai sand box บทเรียนการรับมือโควิดหาดใหญ่ โดย ดร.ไพโรจน์ ชัยจิระธิกุล บอกเล่าก

"งานวันพลเมืองสงขลาปี 2565 วันแรก"ปีนี้จัดขึ้นตรงกับวันที่ 27 กันยายน 2565 องค์กรภาคีเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดสงขลาร่วม 30 องค์กรร่วมมือกันจัดงานวันพลเมืองสงขลา เพื่อสานพลังความร่วมมือ ภายใต้แนวคิด 15 ปีวิสัยทัศน์สงขลา 2570 มีทั้งการนำเสนอผลงานของ 28 องค์กร การปาฐกถา การนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ สังคมจากสภาพัฒน์ฯ การจุดประกายกรณีศึกษาดีๆ การเสนอเป้าหมายร่วมการดำเนินการในด้านเศรษฐกิจสร้าง