เรียนรู้แนวคิดการใช้ชีวิต การบริหารวัดร่องขุึนโดยรูปแบบไม่เหมือนใคร เน้นการมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ตัดสินใจร่วม มีการดูแลตั้งแต่เกิดจนตาย และสร้างความสุขร่วมกัน
สงขลาหรือโดยเฉพาะหาดใหญ่ กล่าวได้ว่าเป็นเมืองที่ราษฎรร่วมสร้าง และหากคนรุ่นบรรพชนได้ร่วมสร้างบ้านแปลงเมือง คนรุ่นปัจจุบันเล่ากำลังทำอะไร?ย้อนอดีตหลังเสียกรุงครั้งที่ 2 เมืองสงขลาไม่ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการ พระเจ้าตากจึงยกพลมาตีเมือง ต่อมาได้มาพบนายเหยี่ยงเพ้ง แซ่เฮ่า หรือหลวงสุวรรณคีรีสมบัติ (เหยี่ยง "ต้นตระกูล" ณ สงขลา) จึงร่วมมือกันตีสงขลาและขึ้นปกครองเมืองมานับแต่นั้นหาดใหญ่เองเป็นเมื
ในการพบเจอกันของเครือข่ายมูลนิธิชุมชนในประเทศไทยเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2553 ที่ผ่านมา ซึ่งมีผู้เข้าร่วมมาจากหลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ ทีมคุณมยุรีและคุณเสรี จุ้ยพริก มูลนิธิชุมชนสตูล ทีมงานของมูลนิธิชุมชนภูเก็ต ผม-คุณชิต คุณสมพร จากมูลนิธิชุมชนสงขลา คุณกุ๊กและทีมงานของบางกอกฟอรั่ม และคุณน้องจากเวิร์ลแบงค์ นอกจากนั้นคุณชิตยังได้ชักชวนโกดาวรองนายกเทศมนตรี(ประธานหอการค้าสตูล) มาร่วมพูดคุยกับเราด้วยเนื่องใ
ย่างเข้าสู่ปีที่ 4 แล้วที่วัดคลองแหได้มีการรื้อฟื้นประเพณีกวนข้าวมธุปายาส หรือที่ชุมชนเรียกกันว่า "ข้าวยาคู" ปีนี้มูลนิธิชุมชนสงขลาได้มีส่วนร่วมกิจกรรมดังกล่าว โดยคุณชิต สง่ากุึลพงศ์ คุณอรัญ จิตตะเสโณ คุณชัยวุฒิ บุญวิวัฒนาการ และคุณชาคริต โภชะเรือง ไปร่วมงานเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
ประกาศผลการประกวดตราสัญลักษณ์มูลนิธิชุมชนสงขลาคณะกรรมการได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ ผลงานของนายอนิรุทธ์ เอมอิ่ม ที่อยู่ 3/116 หมู่ 1 ตำบลท่าไข่ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 ที่มีความหมายตราสัญลักษณ์ลายกนกแทนความเป็นไทย สังคมที่เต็มไปด้วยความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน และเป็นอักษรตัว S แทนคำว่า Songkhla และคำว่า Success แทนความสำเร็จปลายแหลมของเส้นพลิ้วที่ประกอบเป็นตราสัญลัก
สงขลากำลังจะมีแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้แห่งใหม่เกิดขึ้น และจะมีการเปิดตัวในวันที่ 24 มกราคม ที่จะถึงนี้ผมกำลังหมายถึง สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ยัง ไม่มีใครรู้จักใ่ช่ไหมครับ สถานที่แห่งนี้อยู่ในเขตอำเภอเมือง ริมทะเลสาบ เป็นอาคารสถานที่ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 140 ไร่ เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2538 ได้รับงบจากการบริจาคจากบรรดาผู้ที่มีใจศรัทธา และหน่วยงานบางส่วนสนับสนุน ภายในพื้นที่ป
เวทีสานเสวนา โความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสงขลาอย่างยั่งยืนโ ซึ่งจัดโดย มูลนิธิชุมชนสงขลา ที่สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เมื่อ 8 มกราคมที่ผ่านมา มีผู้สนใจเข้าร่วมจากภาคราชการ ภาคประชาสังคม นักธุรกิจ นักวิชาการ และสื่อมวลชน อย่างล้นหลามกว่า 80 คนบรรยากาศเป็นไปอย่างเป็นกันเอง กิจกรรมเริ่มจากรวมกลุ่มชมหอประวัติพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก่อนเข้าห้องประชุมแบบกลางสวน ผู้เข้าร่วม ได้พบปะ ดื่มทาน
พอเอ่ยถึง "สวนสาธารณพรุค้างคาว" ไม่ทราบว่ามีใครรู้จักบ้างไหมครับ?หลายคนคงส่ายหน้า แต่ถ้าบอกต่ออีกว่าอยู่ในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ ผมว่าหลายคนอาจร้องอ๋อ! ขึ้นมาบ้างแต่ผมเดาว่าคนหาดใหญ่เองบางคนก็อาจจะมิเคยได้ยิน เนื่องจากยังเป็นสวนสาธารณะที่เพิ่งเกิดใหม่ แต่โดยชื่อแล้ว มีมานานพอสมควรพรุค้างคาวนี่ว่าไปติดเขตอำเภอหาดใหญ่นะครับ อย่างไรก็ดี สถานที่แห่งนี้ ผมว่าเด็กโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย หรือเด็ก ญ
รายการสมัชชาออนแอร์ 19 ธันวาคม 2552 ทางสถานีวิทยุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ FM88.0 MHz ดำเนินรายการโดย บัญชร วิเชียรศรี และ อรุณรัตน์ แสงละออง ได้เชิญกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ได้แก่ ชิต สง่ากุลพงศ์ ประธานมูลนิธิชุมชนสงขลา ชัยวุฒิ บุญวิวัฒนาการ กรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา ชาคริต โภชะเรือง ผู้จัดการมูลนิธิชุมชนสงขลา ชัยวุฒิ เกิดชื่น สุวรรณี เกิดชื่น ตัวแทนภาคสื่อ ตัวแทนจากหา
วิทยาลัยทคนิคหาดใหญ่ ให้นักศึกษาประดิษฐ์ตู้บริจาคพูดได้ มอบให้องค์กรการกุศล เช่น วัด ศาลเจ้า หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ มาหลายปี แต่ที่มอบให้มากที่สุด คือมอบให้วัด เป็นโครงการที่น่าชื่นชม อย่างสำคัญที่สุด โครงการนี้นอกจากส่งเสริมทักษะตามหลักสูตรแล้ว ยังมีผลข้างเคียงในแง่คุณธรรมเกิดขึ้นกับจิตใจนักศึกษาด้วย เพราะขณะประดิษฐ์ชิ้นงาน พวกเขาก็คงคิดถึงการให้ตู้บริจาคพูดได้ เป็นชิ้นงานนักศึกษาในวิชาระ